โรคหัวใจ คืออะไร ทำไมสูงวัยควรต้องกังวล

โรคหัวใจ คืออะไร ทำไมสูงวัยควรต้องกังวล

สารบัญเนื้อหา

โรคหัวใจ คืออะไร ทำไมสูงวัยควรต้องกังวล

โรคหัวใจ คืออะไร โรคที่อันตรายเป็นอันดับต้นๆของโลกเลยทีเดียว เราเข้าใจกันดีอยู่แล้วว่าโรคนี้มักเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเป็นหลักอีกทั้งยังอันตรายถึงชีวิตอีกด้วย หลายคนมีความเข้าใจจึงหาทางป้องกันก่อนได้ แต่ก็มีผู้คนอีกมากมายที่ยังคงไม่รู้เท่าทันโรคร้ายนี้ บทความนี้จึงอยากพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับโรคร้ายโรคนี้กัน

โรคหัวใจ เกิดจากอะไร

โรคหัวใจ เกิดจากอะไร

โรคหัวใจ เกิดจาก (Heart Disease) เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายและส่งผลกระทบสำคัญไปที่หัวใจโดยตรง สามารถแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มอาการได้ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ และโรคลิ้นหัวใจ รวมไปถึงการติดเชื้อต่างๆอีกด้วย โดยสถิติผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตก็แนวโน้มที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆอีกด้วยอันเนื่องมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปของผู้คน ไม่ว่าจะการกิน การนอน การทำงานต่างๆ จึงทำให้กลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจ (CVDs) กลายมาเป็นโรคที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตมากที่สุดของโลก

สถิติโรคหัวใจ ที่กำลังน่าเป็นห่วง โรคหัวใจ คืออะไร โรคที่อันตรายเป็นอันดับต้นๆของโลกเลยทีเดียว เราเข้าใจกันดีอยู่แล้วว่าโรคนี้มักเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเป็นหลักอีกทั้งยังอันตรายถึงชีวิตอีกด้วย หลายคนมีความเข้าใจจึงหาทางป้องกันก่อนได้ แต่ก็มีผู้คนอีกมากมายที่ยังคงไม่รู้เท่าทันโรคร้ายนี้ บทความนี้จึงอยากพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับโรคร้ายโรคนี้กัน

สถิติโรคหัวใจ ที่กำลังน่าเป็นห่วง

ในปัจจุบันนั้นประเทศไทยเรากำลังเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สิ่งที่พบต่อมาคือปัญหาเรื่องสุขภาพที่มีการพบว่าสถิติโรคหัวใจจำนวนผู้ป่วยโรคต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับอายุมีตัวเลขสูงมากขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจ โดยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) นั้นพบว่ามีผู้ป่วยโรคหัวใจเสียชีวิต 2 คน ต่อ 1 ชั่วโมง มีคนเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นจำนวนถึง 7.2 ล้านคน หรือคิดเป็น 12.2% ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมด สำหรับอัตราการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด ในประเทศไทยประมาณปีละ 37,000 ราย ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในประเทศไทย จะมีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าที่อื่น ประมาณ 4-6 เท่าเลยทีเดียว สถิติยังบอกอีกด้วยว่ากลุ่มผู้ป่วยหลักคือ วัย 30-40 ปีที่จะเริ่มมีภาวะอาการและความเสี่ยง ผู้ชายเสี่ยงโรคหัวใจมากกว่าผู้หญิงถึง 3 เท่า

 

ความดันยิ่งสูง หัวใจยิ่งเสี่ยง

พฤติกรรมเสี่ยงโรคหัวใจ

ปัจจัยหลักหลักของการเกิดโรคคือความดันและไขมัน ยิ่งมีพฤติกรรมที่ทำสองสิ่งนี้สูงขึ้นก็ยิ่งเสี่ยงโรคหัวใจมากขึ้นซึ่งนั่นจะทำให้ก่อเกิดเป็นอาการและรูปแบบต่างๆของโรคหัวใจตามมา

ความดันยิ่งสูง หัวใจยิ่งเสี่ยง

ความดันสูง (Hypertension) คือสภาวะที่ค่าความดันสูงเกินค่าปกติ ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักในการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆทั่วร่างกายมากขึ้น หัวใจเป็นอวัยวะที่ทำงานตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นการที่ค่าความดันสูงอยู่ตลอดเวลาจะส่งผลให้หัวใจเกิดการเสื่อมเร็วขึ้นอาจนำไปสู่การโรคหัวใจต่างๆได้ ความดันสูงสามารถเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องนักในชีวิตประจำวันได้ ผู้ป่วยอาจเผลอมีพฤติกรรมที่ทำร้ายหัวใจได้โดยไม่รู้ตัว

โรคหัวใจ คืออะไร ทำไมสูงวัยควรต้องกังวล
พฤติกรรมเสี่ยงโรคหัวใจ

-ความเครียด 

เมื่อเกิดความเครียด ร่างกายจะผลิตฮอโมนส์คอติซอและอดีนารีนออกมาก ซึ่งจะทำให้หัวใจเต้นเร็วมากขึ้น ส่งผลให้เกิดเป็นความดันสูงตามไปด้วย ความเครียดนั้นเป็นปัจจัยที่เกิดขึ้นง่ายและควบคุมได้ยาก เนื่องจากเกี่ยวเนื่องจากชีวิตประจำวันโดยตรง 

-เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

การดื่มสุราในปริมาณมากและบ่อยครั้งจะส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อมลง เต้นผิดปกติ การบีบตัวของหัวใจผิดพลาด ความดันโลหิตพุ่งสูง อีกทั้งทำให้ขาดวิตามินบี 1 ที่เป็นส่วนสำคัญของการบำรุงหัวใจอีกด้วย

 

-บุหรี่

สารนิโคตินในบุหรี่ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น หลอดเลือดหัวใจจะเกิดการหดเกร็งตัวจนเสี่ยงหัวใจขาดเลือด อีกทั้งสารพิษต่างๆในบุหรี่ยังสามารถเข้าไปจับตัวกับหลอดเลือดแดง ส่งผลให้หัวใจเกิดการขาดอ๊อกซิเจนและเกิดเป็นโรคหัวใจล้มเหลวได้

ภาวะไขมันสูง ภัยเงียบที่ห้ามชะล่าใจ

ภาวะไขมันสูง ภัยเงียบที่ห้ามชะล่าใจ

ไขมันสูงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งของโรคหัวใจที่เกิดได้อย่างง่ายดายไม่แพ้ความดันสูงเลยทีเดียว เนื่องจากไขมันสูงนั้นมาจากพฤติกรรมการกินของผู้ป่วยเอง การกินตามใจปากจะนำพาให้เกิดภาวะไขมันสูงได้ไม่ยาก อีกทั้งผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังขาดการออกกำลังกายที่สม่ำเสมออีกด้วย จึงทำให้ไขมันไม่ถูกเผาผลาญออกและถูกสะสมอยู่ในร่างกาย เกิดความเสี่ยงที่จะอุดตันในผนังหลอดเลือดจนเกิดเป็นลิ่มเลือด ส่งผลให้เลือดเดินได้ทางได้ไม่ไหลลื่นจนหัวใจต้องใช้แรงมากขึ้นในการสูบฉีดเลือด ทำให้เกิดเป็นภาวะความดันสูงตามมาในที่สุด

ปัจจัยอื่นๆที่ทำให้เกิดโรคหัวใจ

-อ้วนและมีน้ำหนักเกินค่ามาตรฐาน

-กินอาหารรสเค็มเป็นประจำ

-มีโรคประจำตัว

เช่น โรคเบาหวาน ระบบเผาผลาญบกพร่อง โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคลิ้นหัวใจรั่ว เป็นต้น

สัญญาณเตือนโรคหัวใจ รู้ไว้ป้องกันได้

เนื่องจากเป็นผลกระทบจากที่หัวใจอ่อนแอลง สัญญาณทางร่างกายจะถูกส่งออกมาอย่างชัดเจน เช่น หายใจลำบากมากขึ้น รู้สึกว่าเหนื่อยง่ายเมื่อออกแรงใช้กำลัง มีอาการเจ็บแน่นที่หน้าอกบ่อยครั้ง อึดอัดบริเวณหน้าอก อาจมีอาการใจสั่นอย่างไม่ทราบสาเหตุ อาจเป็นลมหมอสติ หรือช๊อกจนเสียชีวิตได้ อย่าละเลยสัญญาณเตือนเล็กๆ หากมีอาการข้างต้นควรรีบไปตรวจร่างกับหมอเพื่อประเมินระยะอาการตั้งแต่เนิ่นจะช่วยลดความส่งได้เป็นอย่างมาก

การตรวจวินิจฉัยโรคหัวใจ

การตรวจวินิจฉัยโรคหัวใจ

  • แพทย์จะเริ่มจากการสอบถามประวัติ อาการเจ็บป่วยต่างๆ ที่พึงสงสัย รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ของคนไข้
  • จากนั้นแพทย์จะทำการตรวจร่างกายทั้งตัว ทุกระบบของร่างกาย รวมทั้งระบบหัวใจและหลอดเลือด โดยฟังการเต้นของหัวใจ วัดความดันโลหิต
  • เบื้องต้นแพทย์จะตรวจด้วยการเอกซเรย์ทรวงอก และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) โดยใช้สื่อนำคลื่นไฟฟ้าขนาดเล็กไปวางตามจุดต่างๆ ของร่างกาย ได้แก่ หน้าอก แขน และขา จากนั้นกราฟจะแสดงคลื่นไฟฟ้าเพื่อให้แพทย์อ่านผลและวินิจฉัยระดับความรุนแรงของโรคต่อไป
  • การตรวจด้วยคอมพิวเตอร์หรือ ซีทีสแกน (CT Coronary Artery) เป็นการตรวจเพื่อวิเคราะห์หาเส้นเลือดที่ตีบจากการมีไขมันไปเกาะหลอดเลือดแดง ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจอุดตันเฉียบพลัน ทำให้เกิดภาวะหัวใจวายได้ เพื่อช่วยให้แพทย์สามารถควบคุมและรักษาปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจให้ผู้ป่วยแต่ละรายอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ สามารถใช้ในการตรวจการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจอีกด้วย
  • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย (Exercise Stress Test: EST) คือการให้ผู้ป่วยเดิน หรือวิ่งบนสายพาน เพื่อกระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น และดูการการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ สำหรับผู้ที่ไม่พร้อมในการวิ่งสายพาน
  • สุดท้ายเป็นการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiography) เพื่อดูกายวิภาคของหัวใจ ความหนาของผนังหัวใจ การเคลื่อนที่และการบีบตัว วิธีนี้สามารถวินิจฉัยโรคหัวใจได้เกือบทุกประเภท
  • จากนั้นหมอจึงจะสามารถวินิจฉัยได้ว่าผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจประเภทไหนและจะแจ้งแผนการรักษาที่แตกต่างกันในแต่ละเคสไป
ผู้ป่วยโรคหัวใจดูแลสุขภาพอย่างไรดี

ผู้ป่วยโรคหัวใจดูแลสุขภาพอย่างไรดี

  • ออกกำลังกายเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถช่วยลดปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกายได้
  • หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
  • นอนพักผ่อนให้เพียงพอ และรู้จักการจัดการความเครียด ควรหากิจกรรมที่ชื่นชอบ หรือผ่อนคลายความเครียดได้
  • ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • หลีกเลี่ยงอาหารรสหวาน มัน เค็ม เกินไป ควรรับประทานอาหารที่มีไขมันน้อย เช่น ผัก ปลา ผลไม้ และอาหารที่มีกากใย
  • ตรวจเช็คสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หากมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ใจสั่น ควรปรึกษาแพทย์ทันที

หลีกเลี่ยงและป้องกันตัวเองจากความเสี่ยงต่างๆจึงเป็นสิ่งที่ควรทำอย่างเร่งด่วน เพราะโรคนี้มักแสดงออกด้วยอาการที่รุนแรงอย่างฉับพลัน โดยที่เราไม่สามารถคาดเดาได้เลย ทำความเข้าใจ รู้เท่าทันภัยร้ายและหมั่นตรวจร่างกายกับแพทย์อย่างสม่ำเสมอจะทำให้ความเสี่ยงที่ต้องพบปะกับโรคร้ายลดลงได้ค่ะ

มีคำถามและสงสัย หรือมีอาการเข้าข่ายโรคหัวใจ
สามารถโทรสอบถามผู้เชี่ยวชาญของเราได้เลยที่เบอร์ 02 123 3866
ไม่เก็บค่าบริการใดๆทั้งสิ้น

โรคหัวใจ คืออะไร ทำไมสูงวัยควรต้องกังวล

โรคหัวใจ คืออะไร โรคที่อันตรายเป็นอันดับต้นๆของโลกเลยทีเดียว เราเข้าใจกันดีอยู่แล้วว่าโรคนี้มักเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเป็นหลักอีกทั้งยังอันตรายถึงชีวิตอีกด้วย หลายคนมีความเข้าใจจึงหาทางป้องกันก่อนได้ แต่ก็มีผู้คนอีกมากมายที่ยังคงไม่รู้เท่าทันโรคร้ายนี้ บทความนี้จึงอยากพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับโรคร้ายโรคนี้กัน

โรคหัวใจ เกิดจากอะไร

โรคหัวใจ เกิดจากอะไร

โรคหัวใจ เกิดจาก (Heart Disease) เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายและส่งผลกระทบสำคัญไปที่หัวใจโดยตรง สามารถแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มอาการได้ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ และโรคลิ้นหัวใจ รวมไปถึงการติดเชื้อต่างๆอีกด้วย โดยสถิติผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตก็แนวโน้มที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆอีกด้วยอันเนื่องมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปของผู้คน ไม่ว่าจะการกิน การนอน การทำงานต่างๆ จึงทำให้กลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจ (CVDs) กลายมาเป็นโรคที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตมากที่สุดของโลก

สถิติโรคหัวใจ ที่กำลังน่าเป็นห่วง โรคหัวใจ คืออะไร โรคที่อันตรายเป็นอันดับต้นๆของโลกเลยทีเดียว เราเข้าใจกันดีอยู่แล้วว่าโรคนี้มักเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเป็นหลักอีกทั้งยังอันตรายถึงชีวิตอีกด้วย หลายคนมีความเข้าใจจึงหาทางป้องกันก่อนได้ แต่ก็มีผู้คนอีกมากมายที่ยังคงไม่รู้เท่าทันโรคร้ายนี้ บทความนี้จึงอยากพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับโรคร้ายโรคนี้กัน

สถิติโรคหัวใจ ที่กำลังน่าเป็นห่วง

ในปัจจุบันนั้นประเทศไทยเรากำลังเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สิ่งที่พบต่อมาคือปัญหาเรื่องสุขภาพที่มีการพบว่าสถิติโรคหัวใจจำนวนผู้ป่วยโรคต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับอายุมีตัวเลขสูงมากขึ้น โดยเฉพาะโรคหัวใจ โดยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) นั้นพบว่ามีผู้ป่วยโรคหัวใจเสียชีวิต 2 คน ต่อ 1 ชั่วโมง มีคนเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นจำนวนถึง 7.2 ล้านคน หรือคิดเป็น 12.2% ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมด สำหรับอัตราการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด ในประเทศไทยประมาณปีละ 37,000 ราย ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในประเทศไทย จะมีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าที่อื่น ประมาณ 4-6 เท่าเลยทีเดียว สถิติยังบอกอีกด้วยว่ากลุ่มผู้ป่วยหลักคือ วัย 30-40 ปีที่จะเริ่มมีภาวะอาการและความเสี่ยง ผู้ชายเสี่ยงโรคหัวใจมากกว่าผู้หญิงถึง 3 เท่า

 

ความดันยิ่งสูง หัวใจยิ่งเสี่ยง

พฤติกรรมเสี่ยงโรคหัวใจ

ปัจจัยหลักหลักของการเกิดโรคคือความดันและไขมัน ยิ่งมีพฤติกรรมที่ทำสองสิ่งนี้สูงขึ้นก็ยิ่งเสี่ยงโรคหัวใจมากขึ้นซึ่งนั่นจะทำให้ก่อเกิดเป็นอาการและรูปแบบต่างๆของโรคหัวใจตามมา

ความดันยิ่งสูง หัวใจยิ่งเสี่ยง

ความดันสูง (Hypertension) คือสภาวะที่ค่าความดันสูงเกินค่าปกติ ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักในการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆทั่วร่างกายมากขึ้น หัวใจเป็นอวัยวะที่ทำงานตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นการที่ค่าความดันสูงอยู่ตลอดเวลาจะส่งผลให้หัวใจเกิดการเสื่อมเร็วขึ้นอาจนำไปสู่การโรคหัวใจต่างๆได้ ความดันสูงสามารถเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องนักในชีวิตประจำวันได้ ผู้ป่วยอาจเผลอมีพฤติกรรมที่ทำร้ายหัวใจได้โดยไม่รู้ตัว

โรคหัวใจ คืออะไร ทำไมสูงวัยควรต้องกังวล
พฤติกรรมเสี่ยงโรคหัวใจ

-ความเครียด 

เมื่อเกิดความเครียด ร่างกายจะผลิตฮอโมนส์คอติซอและอดีนารีนออกมาก ซึ่งจะทำให้หัวใจเต้นเร็วมากขึ้น ส่งผลให้เกิดเป็นความดันสูงตามไปด้วย ความเครียดนั้นเป็นปัจจัยที่เกิดขึ้นง่ายและควบคุมได้ยาก เนื่องจากเกี่ยวเนื่องจากชีวิตประจำวันโดยตรง 

-เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

การดื่มสุราในปริมาณมากและบ่อยครั้งจะส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อมลง เต้นผิดปกติ การบีบตัวของหัวใจผิดพลาด ความดันโลหิตพุ่งสูง อีกทั้งทำให้ขาดวิตามินบี 1 ที่เป็นส่วนสำคัญของการบำรุงหัวใจอีกด้วย

 

-บุหรี่

สารนิโคตินในบุหรี่ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น หลอดเลือดหัวใจจะเกิดการหดเกร็งตัวจนเสี่ยงหัวใจขาดเลือด อีกทั้งสารพิษต่างๆในบุหรี่ยังสามารถเข้าไปจับตัวกับหลอดเลือดแดง ส่งผลให้หัวใจเกิดการขาดอ๊อกซิเจนและเกิดเป็นโรคหัวใจล้มเหลวได้

ภาวะไขมันสูง ภัยเงียบที่ห้ามชะล่าใจ

ภาวะไขมันสูง ภัยเงียบที่ห้ามชะล่าใจ

ไขมันสูงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งของโรคหัวใจที่เกิดได้อย่างง่ายดายไม่แพ้ความดันสูงเลยทีเดียว เนื่องจากไขมันสูงนั้นมาจากพฤติกรรมการกินของผู้ป่วยเอง การกินตามใจปากจะนำพาให้เกิดภาวะไขมันสูงได้ไม่ยาก อีกทั้งผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังขาดการออกกำลังกายที่สม่ำเสมออีกด้วย จึงทำให้ไขมันไม่ถูกเผาผลาญออกและถูกสะสมอยู่ในร่างกาย เกิดความเสี่ยงที่จะอุดตันในผนังหลอดเลือดจนเกิดเป็นลิ่มเลือด ส่งผลให้เลือดเดินได้ทางได้ไม่ไหลลื่นจนหัวใจต้องใช้แรงมากขึ้นในการสูบฉีดเลือด ทำให้เกิดเป็นภาวะความดันสูงตามมาในที่สุด

ปัจจัยอื่นๆที่ทำให้เกิดโรคหัวใจ

-อ้วนและมีน้ำหนักเกินค่ามาตรฐาน

-กินอาหารรสเค็มเป็นประจำ

-มีโรคประจำตัว

เช่น โรคเบาหวาน ระบบเผาผลาญบกพร่อง โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคลิ้นหัวใจรั่ว เป็นต้น

สัญญาณเตือนโรคหัวใจ รู้ไว้ป้องกันได้

เนื่องจากเป็นผลกระทบจากที่หัวใจอ่อนแอลง สัญญาณทางร่างกายจะถูกส่งออกมาอย่างชัดเจน เช่น หายใจลำบากมากขึ้น รู้สึกว่าเหนื่อยง่ายเมื่อออกแรงใช้กำลัง มีอาการเจ็บแน่นที่หน้าอกบ่อยครั้ง อึดอัดบริเวณหน้าอก อาจมีอาการใจสั่นอย่างไม่ทราบสาเหตุ อาจเป็นลมหมอสติ หรือช๊อกจนเสียชีวิตได้ อย่าละเลยสัญญาณเตือนเล็กๆ หากมีอาการข้างต้นควรรีบไปตรวจร่างกับหมอเพื่อประเมินระยะอาการตั้งแต่เนิ่นจะช่วยลดความส่งได้เป็นอย่างมาก

การตรวจวินิจฉัยโรคหัวใจ

การตรวจวินิจฉัยโรคหัวใจ

  • แพทย์จะเริ่มจากการสอบถามประวัติ อาการเจ็บป่วยต่างๆ ที่พึงสงสัย รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ของคนไข้
  • จากนั้นแพทย์จะทำการตรวจร่างกายทั้งตัว ทุกระบบของร่างกาย รวมทั้งระบบหัวใจและหลอดเลือด โดยฟังการเต้นของหัวใจ วัดความดันโลหิต
  • เบื้องต้นแพทย์จะตรวจด้วยการเอกซเรย์ทรวงอก และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) โดยใช้สื่อนำคลื่นไฟฟ้าขนาดเล็กไปวางตามจุดต่างๆ ของร่างกาย ได้แก่ หน้าอก แขน และขา จากนั้นกราฟจะแสดงคลื่นไฟฟ้าเพื่อให้แพทย์อ่านผลและวินิจฉัยระดับความรุนแรงของโรคต่อไป
  • การตรวจด้วยคอมพิวเตอร์หรือ ซีทีสแกน (CT Coronary Artery) เป็นการตรวจเพื่อวิเคราะห์หาเส้นเลือดที่ตีบจากการมีไขมันไปเกาะหลอดเลือดแดง ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจอุดตันเฉียบพลัน ทำให้เกิดภาวะหัวใจวายได้ เพื่อช่วยให้แพทย์สามารถควบคุมและรักษาปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจให้ผู้ป่วยแต่ละรายอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ สามารถใช้ในการตรวจการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจอีกด้วย
  • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย (Exercise Stress Test: EST) คือการให้ผู้ป่วยเดิน หรือวิ่งบนสายพาน เพื่อกระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น และดูการการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ สำหรับผู้ที่ไม่พร้อมในการวิ่งสายพาน
  • สุดท้ายเป็นการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiography) เพื่อดูกายวิภาคของหัวใจ ความหนาของผนังหัวใจ การเคลื่อนที่และการบีบตัว วิธีนี้สามารถวินิจฉัยโรคหัวใจได้เกือบทุกประเภท
  • จากนั้นหมอจึงจะสามารถวินิจฉัยได้ว่าผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจประเภทไหนและจะแจ้งแผนการรักษาที่แตกต่างกันในแต่ละเคสไป
ผู้ป่วยโรคหัวใจดูแลสุขภาพอย่างไรดี

ผู้ป่วยโรคหัวใจดูแลสุขภาพอย่างไรดี

  • ออกกำลังกายเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถช่วยลดปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกายได้
  • หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
  • นอนพักผ่อนให้เพียงพอ และรู้จักการจัดการความเครียด ควรหากิจกรรมที่ชื่นชอบ หรือผ่อนคลายความเครียดได้
  • ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • หลีกเลี่ยงอาหารรสหวาน มัน เค็ม เกินไป ควรรับประทานอาหารที่มีไขมันน้อย เช่น ผัก ปลา ผลไม้ และอาหารที่มีกากใย
  • ตรวจเช็คสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หากมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ใจสั่น ควรปรึกษาแพทย์ทันที

หลีกเลี่ยงและป้องกันตัวเองจากความเสี่ยงต่างๆจึงเป็นสิ่งที่ควรทำอย่างเร่งด่วน เพราะโรคนี้มักแสดงออกด้วยอาการที่รุนแรงอย่างฉับพลัน โดยที่เราไม่สามารถคาดเดาได้เลย ทำความเข้าใจ รู้เท่าทันภัยร้ายและหมั่นตรวจร่างกายกับแพทย์อย่างสม่ำเสมอจะทำให้ความเสี่ยงที่ต้องพบปะกับโรคร้ายลดลงได้ค่ะ

มีคำถามและสงสัย หรือมีอาการเข้าข่ายโรคหัวใจ
สามารถโทรสอบถามผู้เชี่ยวชาญของเราได้เลยที่เบอร์ 02 123 3866
ไม่เก็บค่าบริการใดๆทั้งสิ้น

คอมเมนต์

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

บทความใกล้เคียง

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ