ไขมันเกาะตับ สาเหตุไม่ใช่จากแอลกอฮอล์เสมอไป ป้องกันไว้ดีสุด

ไขมันเกาะตับ สาเหตุไม่ใช่จากแอลกอฮอล์เสมอไป ป้องกันไว้ดีที่สุด

สารบัญเนื้อหา

ไขมัน หรือ คอเลสเตอรอล คืออะไร

คอลเลสเตอรอลหรือไขมัน มี 2 ชนิด ไขมันดี (HDL) และไขมันเลว (LDL) ซึ่งแต่ละตัวทำหน้าที่ต่างกัน ส่วนใหญ่แล้วไขมันมักจะพบในเซลล์ทั้งหมดของร่างกายคนเรา และร่างกายของคนเราก็ต้องการไขมันเพื่อสร้าง ฮอร์โมน,วิตามินดี และช่วยให้ย่อยอาหารได้ แต่ถ้าหากร่างกายมีไขมันเลว (LDL) มากจนเกินไป ไขมันเลว (LDL) เหล่านั้นจะไปรวมตัวกับสารอื่นๆในเลือด และกลายเป็นคราบจุลินทรีย์เกาะตามหลอดเลือด เรื่อยๆ จนนำไปสู่โรคหลอดเลือดในหัวใจ และไปเกาะที่ตับ ทำให้เกิดเป็นไขมันเกาะตับหรือไขมันพอกตับนั่นเอง อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับไขมันดี ไขมันเลว

ไขมันพอกตับ ห้าม กินอะไร

ไขมันเกาะตับ สาเหตุเกิดจากอะไร

ส่วนใหญ่แล้วไขมันเกาะตับ สาเหตุเกิดจากปริมาณน้ำตาลในร่างกายมีมากเกินความต้องการ จนตับนำน้ำตาลส่วนเกินไปสร้างเป็นไขมัน ซึ่งไขมันนี้จะอยู่ในรูปแบบ ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride ) ซึ่งเมื่อน้ำตาลในร่างกายมากเกินความต้องการอย่างต่อเนื่อง ตับก็จะยิ่งเปลี่ยนน้ำตาลส่วนเกิน ไปเป็นไขมันไตรกลีเซอไรด์ จนไขมันเกาะหรือพอกตับ(Fatty Liver Disease)ไปเรื่อยๆ และเมื่อไขมันในร่างกายเยอะเกินไปจนตับไม่สามารถกำจัดได้ทัน ก็จะเกิดการสะสมขึ้นเรื่อยๆจนไขมันเกาะตับ หรือภาวะไขมันพอกตับ และส่วนใหญ่คนที่เป็นไขมันเกาะตับจะเป็นคนเหล่านี้

  • โรคอ้วน
  • โรคเบาหวานชนิดที่ 2
  • มีความผิดปกติของอินซูลิน
  • ไตรกลีเซอไรด์สูง
  • ดื่มแอลกอฮอล์
  • ลดน้ำหนักอย่างรวดเร็ว
  • ขาดสารอาหาร
  • ต่อมไทรอยด์มีปัญหา
  • คอเลสเตอรอลสูง
  • อายุมากกว่า 50 ปี
  • สูดดมควันมากเกินไป

ไขมันพอกตับ อาการเป็นยังไง

โดยส่วนใหญ่แล้วไขมันพอกตับ อาการจะไม่ค่อยมีเท่าไหร่นัก คนที่รู้มักจะเป็นคนที่ตรวจสุขภาพและได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ซะส่วนใหหญ่ แต่เมื่อคุณไม่ได้ตรวจสุขภาพและไขมันนได้พอกตับไปเยอะแล้ว หลายปี อาการก็จะแย่ลงเรื่อยๆ และจะเริ่มแสดงอาการต่อไปนี้ตามมา

  • เหนื่อยมาก
  • ไม่มีแรง
  • ปวดเมื่อยด้านขวาบนท้อง (ล่างขวาซี่โครง)
  • น้ำหนักลด โดยไม่ทราบสาเหตุ

และหากพัฒนาไปเป็นโรคตับแข็ง อาจจะเจออาการเหล่านี้ด้วย

  • ผิวเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
  • ตาขาว
  • คันตามผิวหนัง
  • บวมที่ขา เท้า ข้อเท้า หรือ
  • หน้าท้อง
  • หากมีอาการเหล่านี้ควรรีบพบแพทย์ในทันที

ระยะของไขมันพอกตับ

ไขมันพอกตับจะแบ่งได้ 4 ระยะดังนี้

  • ระยะที่ 1 เกิดการสะสมของไขมันทที่ตตับ แต่ยังไม่ส่งผลใดๆ
  • ระยะที่ 2 ตับจะเริ่มอักเสบ และถ้ายังปล่อยไว้เกิน 6 เดือน จะพัฒนาไปเป็นตับออักเสบเรื้อรัง
  • ระยะที่ 3 เกิดผังผืดถาวรเนื่องจากการอักเสบเรื้อรัง และตับจะเริ่มถูกทำลายจากผักผืด
  • ระยะที่ 4 ระยะที่รุนแรงที่สุด ตับถูกทำลายไปเยอะ มีการหดตัว เริ่มทำงานผิดปกติ และเสี่ยงที่จะตับแข็ง มะเร็งตับ หรือไตวาย และถึงแม้ว่าจะไม่เป็นโรคตรายอาการเหล่านี้ก็จจะอยู่ถาวร แม้ได้รับการรักษา

ไขมันพอกตับ หายได้ไหม

ไขมันเกาะตับ สาเหตุเกิดได้หลายแบบ และไขมันพอกตับทำได้เพียงรักษาด้วยการควบคุมอาการไม่ให้ไขมันในตับเพิ่มขึ้น และทำให้ไขมันในตับลดลง แต่ถ้าไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต หรือ การกิน ไขมันก็จะกลับไปพอกตับอีกครั้ง และถ้าไม่ดูแลรักษา ไขมันพอกตับอาจพัฒนาไปเป็นโรคตับแข็งได้

ไขมันพอกตับ ป้องกันยังไงได้บ้าง ?

  • ลดน้ำหนัก
  • กินอาหารเพื่อสุขภาพ
  • ดื่มน้ำเปล่า แทน น้ำหวาน หรือ เลือกเครื่องดื่มที่ใช้น้ำตาลเทียมแทน
    ออกกำลังกาย
  • หยุดสูบบุหรี่
  • เลิกดื่มแอลกอฮอล์

ไขมันพอกตับ รักษายังไงได้บ้าง ?

ไขมันเกาะตับ สาเหตุคนส่วนใหญ่ถูกตรวจเจอและรีบรักษาตัวเองก่อนที่ไขมันพอกตับจะพัฒนาไปเป็นโรคร้ายแรงอื่นๆเช่น ตับแข็ง ฉนั้นถ้าให้ดีควรตรวจสุขภาพปีละ 1-2 ครั้ง เพื่อที่จะรับมือกับโรคร้ายต่างๆที่อาจจะเกิดกับตัวคุณเอง และถ้าคุณถูกตรวจเจอว่าไขมันพอกตับ หมอก็จะให้ยาเพื่อมารักษา แต่ถ้าไม่สามารถรักษาได้แล้วจริงๆ อาจจะต้องถึงขั้นการปลูกถ่ายตับ และเนื่องจากตับสามารถงอกใหม่ได้เอง ทั้งคนที่ได้รับการปลูกถ่ายและส่วนที่เหลืออยู่ของผู้บริจาค และการงอกใหม่ก็สามารถงอกใหม่ได้เท่าขนาดปกติ แต่รูปร่างอาจจะไม่เหมือนเดิม 100% และการงอกใหม่ก็ต้องมีกระบวนการทางการแพทย์ช่วยอีกด้วย

ไขมันพอกตับ ควรกินอะไร

ข่าวดีสำหรับคนที่กลัวไขมันเกาะตับหรือภาวะไขมันพอกตับคือ แค่เปลี่ยนการกิน เน้นไปที่ไขมันดี (HDL) แทนไขมันเลว (LDL) เพื่อให้ตับสามารถกำจัดไขมันเลว (LDL) ในร่างกายได้ทันก่อนที่จะสะสมจนพอกตับ หรือเพิ่มอาหารเหล่านี้ลงไปในอาหาร ก็จะสามารถช่วยลดไขมันในตับได้แล้ว

  • ปลา
  • น้ำมันปลา
  • ชา
  • ไวน์แดง
  • ผลไม้
  • ธัญพืชไม่ขัดสี
  • ถั่ว
  • ผัก
  • อะโวคาโด
  • น้ำมันมะกอก
  • น้ำมันคาโนลา
  • กาแฟ
  • เบอร์รี่
  • อัลมอนด์
  • เมล็ดทานตะวัน
  • นมไขมันต่ำ
  • วิตามินอี จากแดด
  • ปลาแซลมอน
  • บรอกโคลี่
  • กล้วย
  • กีวี
  • โยเกิร์ตไขมันต่ำ
  • ข้าวสาลี
  • กุ้ง

ไขมันพอกตับ ห้ามกินอะไร

  • สัตว์ปีก (ยกเว้นเนื้อขาวที่ไม่ติดมัน)
  • โยเกิร์ต (ยกเว้นไขมันต่ำ)
  • ชีส
  • เนื้อแดง
  • ขนมอบ
  • อาหารทอด โดยเฉพาะจากน้ำมันปาร์มหรือน้ำมันมะพร้าว
  • ลูกอม
  • อาหารที่มีน้ำตาลฟรุกโตสสูง
  • แอลกอฮอล์

สมุนไพรบำรุงตับ

สมุนไพร เป็นอีก 1 ทางเลือกสำหรับคนที่ต้องการบำรุงตับให้แข็งแรงทำให้สุขภาพตับดีขึ้น แต่ให้ระวังการใช้สมุนไพรบำรุงตับ ถ้าเกิดใช้ในปริมาณที่เยอะเกินไปอาจเป็นพิษต่อตับแทนการบำรุงได้ และในความเป็นจริง สมุนไพรบางตัว อาจสร้างความเสียต่อตับของคุณแทนที่จะเป็นการบำรุงอีกด้วย และสมุนไพรบางชนิดอาจตอบโต้กับยาบางตัวที่ได้รับจากแพทย์ ซึ่งอาจจะนำมาซึ่งการบาดเจ็บที่ตับอย่างร้ายแรง ร้ายแรงที่สุดถึงขึ้นเสียชีวิตเลยก็มี การจะเลือกใช้สมุนไพรดังต่อไปนี้ก็ควรหาข้อมูลปริมาณที่พอเหมาะในแต่ละวันก่อนเลือกใช้ หรือปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญก่อนเลือกใช้สมุนไพรบางชนิด จะดีที่สุด

  • โสม
  • ชาเขียว
  • ชะเอม
  • ขมิ้นชัน
  • กระเทียม
  • ขิง
  • แปะก๊วย

ไขมัน หรือ คอเลสเตอรอล คืออะไร

คอลเลสเตอรอลหรือไขมัน มี 2 ชนิด ไขมันดี (HDL) และไขมันเลว (LDL) ซึ่งแต่ละตัวทำหน้าที่ต่างกัน ส่วนใหญ่แล้วไขมันมักจะพบในเซลล์ทั้งหมดของร่างกายคนเรา และร่างกายของคนเราก็ต้องการไขมันเพื่อสร้าง ฮอร์โมน,วิตามินดี และช่วยให้ย่อยอาหารได้ แต่ถ้าหากร่างกายมีไขมันเลว (LDL) มากจนเกินไป ไขมันเลว (LDL) เหล่านั้นจะไปรวมตัวกับสารอื่นๆในเลือด และกลายเป็นคราบจุลินทรีย์เกาะตามหลอดเลือด เรื่อยๆ จนนำไปสู่โรคหลอดเลือดในหัวใจ และไปเกาะที่ตับ ทำให้เกิดเป็นไขมันเกาะตับหรือไขมันพอกตับนั่นเอง อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับไขมันดี ไขมันเลว

ไขมันพอกตับ ห้าม กินอะไร

ไขมันเกาะตับ สาเหตุเกิดจากอะไร

ส่วนใหญ่แล้วไขมันเกาะตับ สาเหตุเกิดจากปริมาณน้ำตาลในร่างกายมีมากเกินความต้องการ จนตับนำน้ำตาลส่วนเกินไปสร้างเป็นไขมัน ซึ่งไขมันนี้จะอยู่ในรูปแบบ ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride ) ซึ่งเมื่อน้ำตาลในร่างกายมากเกินความต้องการอย่างต่อเนื่อง ตับก็จะยิ่งเปลี่ยนน้ำตาลส่วนเกิน ไปเป็นไขมันไตรกลีเซอไรด์ จนไขมันเกาะหรือพอกตับ(Fatty Liver Disease)ไปเรื่อยๆ และเมื่อไขมันในร่างกายเยอะเกินไปจนตับไม่สามารถกำจัดได้ทัน ก็จะเกิดการสะสมขึ้นเรื่อยๆจนไขมันเกาะตับ หรือภาวะไขมันพอกตับ และส่วนใหญ่คนที่เป็นไขมันเกาะตับจะเป็นคนเหล่านี้

  • โรคอ้วน
  • โรคเบาหวานชนิดที่ 2
  • มีความผิดปกติของอินซูลิน
  • ไตรกลีเซอไรด์สูง
  • ดื่มแอลกอฮอล์
  • ลดน้ำหนักอย่างรวดเร็ว
  • ขาดสารอาหาร
  • ต่อมไทรอยด์มีปัญหา
  • คอเลสเตอรอลสูง
  • อายุมากกว่า 50 ปี
  • สูดดมควันมากเกินไป

ไขมันพอกตับ อาการเป็นยังไง

โดยส่วนใหญ่แล้วไขมันพอกตับ อาการจะไม่ค่อยมีเท่าไหร่นัก คนที่รู้มักจะเป็นคนที่ตรวจสุขภาพและได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ซะส่วนใหหญ่ แต่เมื่อคุณไม่ได้ตรวจสุขภาพและไขมันนได้พอกตับไปเยอะแล้ว หลายปี อาการก็จะแย่ลงเรื่อยๆ และจะเริ่มแสดงอาการต่อไปนี้ตามมา

  • เหนื่อยมาก
  • ไม่มีแรง
  • ปวดเมื่อยด้านขวาบนท้อง (ล่างขวาซี่โครง)
  • น้ำหนักลด โดยไม่ทราบสาเหตุ

และหากพัฒนาไปเป็นโรคตับแข็ง อาจจะเจออาการเหล่านี้ด้วย

  • ผิวเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
  • ตาขาว
  • คันตามผิวหนัง
  • บวมที่ขา เท้า ข้อเท้า หรือ
  • หน้าท้อง
  • หากมีอาการเหล่านี้ควรรีบพบแพทย์ในทันที

ระยะของไขมันพอกตับ

ไขมันพอกตับจะแบ่งได้ 4 ระยะดังนี้

  • ระยะที่ 1 เกิดการสะสมของไขมันทที่ตตับ แต่ยังไม่ส่งผลใดๆ
  • ระยะที่ 2 ตับจะเริ่มอักเสบ และถ้ายังปล่อยไว้เกิน 6 เดือน จะพัฒนาไปเป็นตับออักเสบเรื้อรัง
  • ระยะที่ 3 เกิดผังผืดถาวรเนื่องจากการอักเสบเรื้อรัง และตับจะเริ่มถูกทำลายจากผักผืด
  • ระยะที่ 4 ระยะที่รุนแรงที่สุด ตับถูกทำลายไปเยอะ มีการหดตัว เริ่มทำงานผิดปกติ และเสี่ยงที่จะตับแข็ง มะเร็งตับ หรือไตวาย และถึงแม้ว่าจะไม่เป็นโรคตรายอาการเหล่านี้ก็จจะอยู่ถาวร แม้ได้รับการรักษา

ไขมันพอกตับ หายได้ไหม

ไขมันเกาะตับ สาเหตุเกิดได้หลายแบบ และไขมันพอกตับทำได้เพียงรักษาด้วยการควบคุมอาการไม่ให้ไขมันในตับเพิ่มขึ้น และทำให้ไขมันในตับลดลง แต่ถ้าไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต หรือ การกิน ไขมันก็จะกลับไปพอกตับอีกครั้ง และถ้าไม่ดูแลรักษา ไขมันพอกตับอาจพัฒนาไปเป็นโรคตับแข็งได้

ไขมันพอกตับ ป้องกันยังไงได้บ้าง ?

  • ลดน้ำหนัก
  • กินอาหารเพื่อสุขภาพ
  • ดื่มน้ำเปล่า แทน น้ำหวาน หรือ เลือกเครื่องดื่มที่ใช้น้ำตาลเทียมแทน
    ออกกำลังกาย
  • หยุดสูบบุหรี่
  • เลิกดื่มแอลกอฮอล์

ไขมันพอกตับ รักษายังไงได้บ้าง ?

ไขมันเกาะตับ สาเหตุคนส่วนใหญ่ถูกตรวจเจอและรีบรักษาตัวเองก่อนที่ไขมันพอกตับจะพัฒนาไปเป็นโรคร้ายแรงอื่นๆเช่น ตับแข็ง ฉนั้นถ้าให้ดีควรตรวจสุขภาพปีละ 1-2 ครั้ง เพื่อที่จะรับมือกับโรคร้ายต่างๆที่อาจจะเกิดกับตัวคุณเอง และถ้าคุณถูกตรวจเจอว่าไขมันพอกตับ หมอก็จะให้ยาเพื่อมารักษา แต่ถ้าไม่สามารถรักษาได้แล้วจริงๆ อาจจะต้องถึงขั้นการปลูกถ่ายตับ และเนื่องจากตับสามารถงอกใหม่ได้เอง ทั้งคนที่ได้รับการปลูกถ่ายและส่วนที่เหลืออยู่ของผู้บริจาค และการงอกใหม่ก็สามารถงอกใหม่ได้เท่าขนาดปกติ แต่รูปร่างอาจจะไม่เหมือนเดิม 100% และการงอกใหม่ก็ต้องมีกระบวนการทางการแพทย์ช่วยอีกด้วย

ไขมันพอกตับ ควรกินอะไร

ข่าวดีสำหรับคนที่กลัวไขมันเกาะตับหรือภาวะไขมันพอกตับคือ แค่เปลี่ยนการกิน เน้นไปที่ไขมันดี (HDL) แทนไขมันเลว (LDL) เพื่อให้ตับสามารถกำจัดไขมันเลว (LDL) ในร่างกายได้ทันก่อนที่จะสะสมจนพอกตับ หรือเพิ่มอาหารเหล่านี้ลงไปในอาหาร ก็จะสามารถช่วยลดไขมันในตับได้แล้ว

  • ปลา
  • น้ำมันปลา
  • ชา
  • ไวน์แดง
  • ผลไม้
  • ธัญพืชไม่ขัดสี
  • ถั่ว
  • ผัก
  • อะโวคาโด
  • น้ำมันมะกอก
  • น้ำมันคาโนลา
  • กาแฟ
  • เบอร์รี่
  • อัลมอนด์
  • เมล็ดทานตะวัน
  • นมไขมันต่ำ
  • วิตามินอี จากแดด
  • ปลาแซลมอน
  • บรอกโคลี่
  • กล้วย
  • กีวี
  • โยเกิร์ตไขมันต่ำ
  • ข้าวสาลี
  • กุ้ง

ไขมันพอกตับ ห้ามกินอะไร

  • สัตว์ปีก (ยกเว้นเนื้อขาวที่ไม่ติดมัน)
  • โยเกิร์ต (ยกเว้นไขมันต่ำ)
  • ชีส
  • เนื้อแดง
  • ขนมอบ
  • อาหารทอด โดยเฉพาะจากน้ำมันปาร์มหรือน้ำมันมะพร้าว
  • ลูกอม
  • อาหารที่มีน้ำตาลฟรุกโตสสูง
  • แอลกอฮอล์

สมุนไพรบำรุงตับ

สมุนไพร เป็นอีก 1 ทางเลือกสำหรับคนที่ต้องการบำรุงตับให้แข็งแรงทำให้สุขภาพตับดีขึ้น แต่ให้ระวังการใช้สมุนไพรบำรุงตับ ถ้าเกิดใช้ในปริมาณที่เยอะเกินไปอาจเป็นพิษต่อตับแทนการบำรุงได้ และในความเป็นจริง สมุนไพรบางตัว อาจสร้างความเสียต่อตับของคุณแทนที่จะเป็นการบำรุงอีกด้วย และสมุนไพรบางชนิดอาจตอบโต้กับยาบางตัวที่ได้รับจากแพทย์ ซึ่งอาจจะนำมาซึ่งการบาดเจ็บที่ตับอย่างร้ายแรง ร้ายแรงที่สุดถึงขึ้นเสียชีวิตเลยก็มี การจะเลือกใช้สมุนไพรดังต่อไปนี้ก็ควรหาข้อมูลปริมาณที่พอเหมาะในแต่ละวันก่อนเลือกใช้ หรือปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญก่อนเลือกใช้สมุนไพรบางชนิด จะดีที่สุด

  • โสม
  • ชาเขียว
  • ชะเอม
  • ขมิ้นชัน
  • กระเทียม
  • ขิง
  • แปะก๊วย

คอมเมนต์

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

บทความใกล้เคียง

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ