ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง เวียนหัว อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม

ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง เวียนหัว อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม

สารบัญเนื้อหา

เชื่อว่าเกือบทุกคนต้องรู้จักคำว่าไขมัน และก็เข้าใจตรงกันว่าไขมันเป็นสิ่งไม่ดี เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคอ้วน โรคไขมันสูง โรคหลอดเลือดตีบ และโรคหัวใจเป็นต้น แต่รู้ไหมว่ามีคนจำนวนไม่น้อยเลยที่ไม่ทราบว่าแท้จริงแล้วคำว่าไขมันนั้นสามารถแบ่งได้หลายชนิด มีทั้งไขมันที่ไม่ดีและดีต่อร่างกาย รวมไปถึงยังมีไขมันที่ร่างกายคุณสร้างมันขึ้นมาเองอีกด้วย ไขมันตัวนี้เราเรียกว่า ไขมันไตรกลีเซอไรด์ นั่นเอง อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับไขมัวเลว ไขมันดี
ไตรกลีเซอไรด์ สูง อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม

ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง เวียนหัว ทำไมถึงอันตรายมาก

ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง เวียนหัว สาเหตุจากไขมันส่วนใหญ่ที่อยู่ในอาหารที่คุณกิน ไขมันพวกนี้จะอยู่ในรูปของไขมัน หรือแคลอรี่พิเศษ ที่ไม่ได้ใช้ในทันทีที่กินเข้าไป แต่จะถูกแปลงเป็นไตรกลีเซอไรด์ และถูกนำไปที่เซลล์ไขมัน ที่เก็บไว้ และเมื่อร่างกายไม่สามารถใช้ ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ได้ทัน และระดับของไขมันไตรกลีเซอไรด์สูงจนเกินไป จะเกิดคราบจุลินทรีย์ตามผนังหลอดเลือด ทำให้เลือดไม่สามารถไปยังส่วนต่างๆของร่างกายได้อย่างปกติ 

จะทำให้เกิดโรคเกี่ยวกับหัวใจตามมาอย่าง โรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น ซึ่งหากเลือดไปเลี่ยงส่วนต่างๆไม่ดีพอ ส่งผลให้หัวใจเต้นไม่ปกติ จนเกิดการเวียนศรีษะในที่สุด ซึ่งหากรู้ตัวว่ากินไขมันเยอะ แล้วเริ่มมีการเวียนหัว ให้ปรึกษาแพทย์จะดีที่สุด และเลี่ยงที่จะกินไขมันเลว เลือกกินไขมันดีแทน อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับไขมัวเลว ไขมันดี

ไตรกลีเซอไรด์ คืออะไร

ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) คือไขมันชนิดหนึ่งในร่างกาย ที่ตับสังเคราะห์ขึ้นใช้เองเพื่อเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้หล่อเลี้ยงร่างกายในแต่ละวัน หากวันไหนร่างกายใช้พลังงานน้อย ร่างกายก็จะนำไตรกลีเซอไรด์ไปเก็บไว้ตามกล้ามเนื้อเพื่อเป็นพลังงานสำรอง บางส่วนก็ถูกนำไปเก็บสะสมไว้ที่ตับ ฟังดูเผิน ๆ อาจจะไม่มีอะไรมาก แต่ทว่าไขมันชนิดนี้กลับสามารถได้รับจากการทานอาหารประเภท ไขมันสัตว์ แป้ง แอลกอฮอล์ ซึ่งหากเรามีพฤติกรรมที่ชอบกินของพวกนี้เป็นประจำแล้ว แน่นอนว่าเราจะได้รับไขมันไตรกลีเซอไรด์ที่เกินความต้องการของร่างกาย ไขมันก็จะถูกนำไปเก็บสะสมมากขึ้น ๆ จนเกิดเป็นภาวะ ไตรกลีเซอไรด์สูง (High Triglycerides) ยิ่งมีค่าไขมันสะสมสูงก็ยิ่งเสี่ยงโรคเรื้อรัง เช่น โรคอ้วน ความดันสูง ตามมา ไตรกลีเซอไรด์มักร่วมมือกับ คอเลสเตอรอล (Cholesterol) ทำให้เกิดเป็นโรคที่อันตรายมากยิ่งขึ้น เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ ซึ่งสามารถนำไปสู่เหตุการเสียชีวิตได้

ไตรกลีเซอไรด์ ต่างจาก คอเลสเตอรอล อย่างไร?

แม้ว่าทั้งคู่จะเป็นไขมันเหมือนกัน แต่ไตรกลีเซอไรด์จะทำให้อ้วน กลับกันคอเลสเตอรอลนั้นไม่ได้ทำให้อ้วนเสมอไป อีกทั้งคอเลสเตรอลยังเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยในการผลิตเซลล์ บำรุงระบบประสาท ปรับสมดุลฮอร์โมนส์อีกด้วย คอเลสเตอรอลยังสามารถแบ่งออกเป็นไขมันชนิดดีและไม่ดีอีกด้วย ดังนั้นถ้าทานแต่อาหารที่อุดมไปด้วยกรดไขมันดี สุขภาพก็จะดีขึ้นตามไปด้วย

ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง ดูอย่างไร?

ภาวะไตรกลีเซอไรด์สูงนั้นเป็นภัยเงียบ ไม่มีอาการเด่นชัด แต่ว่าอันตรายต่อร่างกายในระยะยาวมาก ๆ
ดังนั้นหากใครที่มีพฤติกรรมเสี่ยง การตรวจเช็คค่าไขมันของตัวเองสม่ำเสมอจะช่วยให้สามารถป้องกันตัวเองจากโรคร้ายต่าง ๆ ที่รอวันเกิดขึ้นได้ สถาบันสุขภาพได้ระบุว่าการตรวจเช็คค่าไขมันสะสมนั้นต้องดูค่่่าไขมันทั้ง 3 ตัวรวมกัน ไขมันเลว LDL, ไขมันดี HDL, ไตรกลีเซอไรด์ ถ้าหากไขมันเลว และไตรกลีเซอไรด์สูงทั้งคู่ ก็จะทำให้คุณมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง เพื่อความแม่นยำในการอ่านผล ผู้เข้ารับการตรวจควรงดรับประทานอาหาร 8 – 12 ชั่วโมง โดยค่าไตรกลีเซอไรด์ที่ไม่ควรเกินคือ 150 มิลลิกรัม ต่อ เดซิลิตร (mg/dL) อีกทั้งเรายังสามารถแบ่งระดับของภาวะไตรกลีเซอไรด์สูงได้ตามนี้

  • อันตราย: 150 – 199 mg/dL
  • ค่อนข้างอันตราย: 200 – 499 mg/dL
  • อันตรายมาก: มากกว่า 500 mg/dL

ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิด ไตรกลีเซอไรด์สูง

  • ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ
  • พันธุกรรม (คนในครอบครัวมีประวัติภาะวไขมันสูง)
  • โรคเกี่ยวกับตับ หรือ ไต
  • วัยทอง
  • โรคอ้วน
  • สูบบุหรี่
  • โรคต่อมไทรอยด์
  • เบาหวาน ชนิดที่ 1 และ 2
ทำไมต้องเลือกอาหารเสริม Protriva Five oil

น้ำมันสกัดเย็น 5 ชนิด Protriva Five oil

ไฟว์ ออยล์ น้ำมันรวมอโวคาโด้สกัดเย็น โดดเด่นด้วยน้ำมันอะโวคาโดเกรดนำเข้า จากประเทศเยอรมันนี รวมไปถึงน้ำมันคุณภาพดีต่างๆ อีก 4 ชนิด รวมกันจนกลายเป็นความลงตัวของน้ำมันเพื่อสุขภาพอย่างแท้จริง ไฟว์ ออยล์ ทางเลือกที่ดีของผู้ป่วยคอเลสเตอรลสูง เส้นเลือดในสมองและหัวใจตีบ

ต้องตรวจค่า ไตรกลีเซอไรด์ บ่อยแค่ไหน?

ยิ่งอายุเพิ่มขึ้น ค่าไขมันก็เป็นเรื่องอันตรายและต้องระวังมากขึ้นตามไปด้วย ผู้เชี่ยวชาญบอกย้ำเตือนอยู่เสมอว่าให้ผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงหมั่นตรวจวัดค่าไขมันอยู่อย่างสม่ำเสมอ

ในกลุ่มวัยรุ่นก็เป็นเรื่องที่ไม่ควรชะล่าใจเช่นเดียวกัน เนื่องจากพฤติกรรมการกินของคนในปัจจุบันนั้นมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดภาวะไขมันในเลือดสูง ผู้เชี่ยวชาญจึงมักแนะนำให้ตรวจทุก ๆ 4 – 6 ปี ยิ่งถ้าหากมีภาวะเบาหวานน้ำตาลสูง หรือคนที่บ้านมีประวัติภาวะไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดตีบ อาจจะต้องตรวจถี่ขึ้นเป็นทุก 3 – 4 ปี สำหรับผู้ชายที่มีอายุตั้งแต่ 45 – 55 ปี และผู้หญิงอายุ 55 – 65 ปี ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้ตรวจทุกปีจะเป็นการดีที่สุด

โรคแทรกซ้อนจากภาวะ ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง

เมื่อมีไขมันในร่างกายสูง และไม่มีการกำจัดออกที่ดี ไขมันจะนำไปถูกเก็บไว้ตามมวลกล้ามเนื้อ และที่ตับ ซึ่งหากมีการนำไปเก็บไว้มาก ๆ จะเกิดเป็นภาวะไขมันพอกตับได้ทำให้ความเสี่ยงที่จะเกิดโรคตับอักเสบ(Pancreatitis) ได้ ซึ่งโรคนี้ถ้าไม่บรรเทาดูแลก็สามารถเสี่ยงถึงชีวิตได้เลยทีเดียว ภาวะไขมันสูงสะสมยังส่งผลกระทบระบบไหลเวียนโลหิต ระบบหัวใจ รวมไปถึงโรคอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น

  • โรคหลอดเลือดคาโรติดตีบตัน (Carotid Artery Disease)
  • โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง (Coronary Artery Disease and Heart Attack)
  • ภาวะระบบเผาผลาญผิดปกติ (Metabolic Syndome)
  • โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ (Peripheral Artery Disease : PAD)

เลี่ยงภาวะ ไตรกลีเซอไรด์สูง อย่างไรดี

แน่นอนว่าโรคนี้สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมก็ต้องแก้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคที่ดีและถูกต้องจะช่วยให้ระดับไขมันสะสมในเลือดลดลงได้

  • ออกกำลังกายสม่ำเสมออย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน
  • บริภาคอาหารที่ไขมัน น้ำตาล น้ำมันน้อย หลีกเลี่ยงของทอด และเพิ่มการบริโภคอาหารประเภทผัก ผลไม้ควบคุมปริมาณน้ำตาล
  • สะสมในกระแสเลือด
  • งดบริโภคเครื่องดื่
  • แอลกอฮอล์
  • พักผ่อนอย่างเพียงพอ 8 – 10 ชั่วโมง
  • ลดน้ำหนัก ควบคุมให้เหมาะสมกับดัชนีมวลกาย
  • จัดการกับปัญหาความเครียด
  • ลด ละ เลิกการสูบบุหรี่

ภาวะไตรกลีเซอไรด์สูงนั้นเป็นภัยเงียบใกล้ตัวที่เกิดขึ้นได้ง่าย อันเนื่องมาจากพฤติกรรมประจำตัวของเราเอง หากไม่มีการปรับเปลี่ยนหรือเอาใจใส่ที่ดีก็อาจทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิตได้ ดังนั้นจึงควรปฏิบัติตัวตามคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญอย่างเคร่งครัด หรือหาตัวช่วยเป็นน้ำมันอโวคาโดรวม ไฟว์ออยล์ จากโปรทริว่า ดูแลตัวเองได้ง่าย ๆ ไม่ยุ่งยากนะคะ

แหล่งข้อมูลอ้างอิง

www.uofmhealth.org

my.clevelandclinic.org

carle.org

เชื่อว่าเกือบทุกคนต้องรู้จักคำว่าไขมัน และก็เข้าใจตรงกันว่าไขมันเป็นสิ่งไม่ดี เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคอ้วน โรคไขมันสูง โรคหลอดเลือดตีบ และโรคหัวใจเป็นต้น แต่รู้ไหมว่ามีคนจำนวนไม่น้อยเลยที่ไม่ทราบว่าแท้จริงแล้วคำว่าไขมันนั้นสามารถแบ่งได้หลายชนิด มีทั้งไขมันที่ไม่ดีและดีต่อร่างกาย รวมไปถึงยังมีไขมันที่ร่างกายคุณสร้างมันขึ้นมาเองอีกด้วย ไขมันตัวนี้เราเรียกว่า ไขมันไตรกลีเซอไรด์ นั่นเอง อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับไขมัวเลว ไขมันดี
ไตรกลีเซอไรด์ สูง อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม

ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง เวียนหัว ทำไมถึงอันตรายมาก

ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง เวียนหัว สาเหตุจากไขมันส่วนใหญ่ที่อยู่ในอาหารที่คุณกิน ไขมันพวกนี้จะอยู่ในรูปของไขมัน หรือแคลอรี่พิเศษ ที่ไม่ได้ใช้ในทันทีที่กินเข้าไป แต่จะถูกแปลงเป็นไตรกลีเซอไรด์ และถูกนำไปที่เซลล์ไขมัน ที่เก็บไว้ และเมื่อร่างกายไม่สามารถใช้ ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ได้ทัน และระดับของไขมันไตรกลีเซอไรด์สูงจนเกินไป จะเกิดคราบจุลินทรีย์ตามผนังหลอดเลือด ทำให้เลือดไม่สามารถไปยังส่วนต่างๆของร่างกายได้อย่างปกติ 

จะทำให้เกิดโรคเกี่ยวกับหัวใจตามมาอย่าง โรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น ซึ่งหากเลือดไปเลี่ยงส่วนต่างๆไม่ดีพอ ส่งผลให้หัวใจเต้นไม่ปกติ จนเกิดการเวียนศรีษะในที่สุด ซึ่งหากรู้ตัวว่ากินไขมันเยอะ แล้วเริ่มมีการเวียนหัว ให้ปรึกษาแพทย์จะดีที่สุด และเลี่ยงที่จะกินไขมันเลว เลือกกินไขมันดีแทน อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับไขมัวเลว ไขมันดี

ไตรกลีเซอไรด์ คืออะไร

ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) คือไขมันชนิดหนึ่งในร่างกาย ที่ตับสังเคราะห์ขึ้นใช้เองเพื่อเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้หล่อเลี้ยงร่างกายในแต่ละวัน หากวันไหนร่างกายใช้พลังงานน้อย ร่างกายก็จะนำไตรกลีเซอไรด์ไปเก็บไว้ตามกล้ามเนื้อเพื่อเป็นพลังงานสำรอง บางส่วนก็ถูกนำไปเก็บสะสมไว้ที่ตับ ฟังดูเผิน ๆ อาจจะไม่มีอะไรมาก แต่ทว่าไขมันชนิดนี้กลับสามารถได้รับจากการทานอาหารประเภท ไขมันสัตว์ แป้ง แอลกอฮอล์ ซึ่งหากเรามีพฤติกรรมที่ชอบกินของพวกนี้เป็นประจำแล้ว แน่นอนว่าเราจะได้รับไขมันไตรกลีเซอไรด์ที่เกินความต้องการของร่างกาย ไขมันก็จะถูกนำไปเก็บสะสมมากขึ้น ๆ จนเกิดเป็นภาวะ ไตรกลีเซอไรด์สูง (High Triglycerides) ยิ่งมีค่าไขมันสะสมสูงก็ยิ่งเสี่ยงโรคเรื้อรัง เช่น โรคอ้วน ความดันสูง ตามมา ไตรกลีเซอไรด์มักร่วมมือกับ คอเลสเตอรอล (Cholesterol) ทำให้เกิดเป็นโรคที่อันตรายมากยิ่งขึ้น เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ ซึ่งสามารถนำไปสู่เหตุการเสียชีวิตได้

ไตรกลีเซอไรด์ ต่างจาก คอเลสเตอรอล อย่างไร?

แม้ว่าทั้งคู่จะเป็นไขมันเหมือนกัน แต่ไตรกลีเซอไรด์จะทำให้อ้วน กลับกันคอเลสเตอรอลนั้นไม่ได้ทำให้อ้วนเสมอไป อีกทั้งคอเลสเตรอลยังเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยในการผลิตเซลล์ บำรุงระบบประสาท ปรับสมดุลฮอร์โมนส์อีกด้วย คอเลสเตอรอลยังสามารถแบ่งออกเป็นไขมันชนิดดีและไม่ดีอีกด้วย ดังนั้นถ้าทานแต่อาหารที่อุดมไปด้วยกรดไขมันดี สุขภาพก็จะดีขึ้นตามไปด้วย

ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง ดูอย่างไร?

ภาวะไตรกลีเซอไรด์สูงนั้นเป็นภัยเงียบ ไม่มีอาการเด่นชัด แต่ว่าอันตรายต่อร่างกายในระยะยาวมาก ๆ
ดังนั้นหากใครที่มีพฤติกรรมเสี่ยง การตรวจเช็คค่าไขมันของตัวเองสม่ำเสมอจะช่วยให้สามารถป้องกันตัวเองจากโรคร้ายต่าง ๆ ที่รอวันเกิดขึ้นได้ สถาบันสุขภาพได้ระบุว่าการตรวจเช็คค่าไขมันสะสมนั้นต้องดูค่่่าไขมันทั้ง 3 ตัวรวมกัน ไขมันเลว LDL, ไขมันดี HDL, ไตรกลีเซอไรด์ ถ้าหากไขมันเลว และไตรกลีเซอไรด์สูงทั้งคู่ ก็จะทำให้คุณมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง เพื่อความแม่นยำในการอ่านผล ผู้เข้ารับการตรวจควรงดรับประทานอาหาร 8 – 12 ชั่วโมง โดยค่าไตรกลีเซอไรด์ที่ไม่ควรเกินคือ 150 มิลลิกรัม ต่อ เดซิลิตร (mg/dL) อีกทั้งเรายังสามารถแบ่งระดับของภาวะไตรกลีเซอไรด์สูงได้ตามนี้

  • อันตราย: 150 – 199 mg/dL
  • ค่อนข้างอันตราย: 200 – 499 mg/dL
  • อันตรายมาก: มากกว่า 500 mg/dL

ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิด ไตรกลีเซอไรด์สูง

  • ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ
  • พันธุกรรม (คนในครอบครัวมีประวัติภาะวไขมันสูง)
  • โรคเกี่ยวกับตับ หรือ ไต
  • วัยทอง
  • โรคอ้วน
  • สูบบุหรี่
  • โรคต่อมไทรอยด์
  • เบาหวาน ชนิดที่ 1 และ 2
ทำไมต้องเลือกอาหารเสริม Protriva Five oil

น้ำมันสกัดเย็น 5 ชนิด Protriva Five oil

ไฟว์ ออยล์ น้ำมันรวมอโวคาโด้สกัดเย็น โดดเด่นด้วยน้ำมันอะโวคาโดเกรดนำเข้า จากประเทศเยอรมันนี รวมไปถึงน้ำมันคุณภาพดีต่างๆ อีก 4 ชนิด รวมกันจนกลายเป็นความลงตัวของน้ำมันเพื่อสุขภาพอย่างแท้จริง ไฟว์ ออยล์ ทางเลือกที่ดีของผู้ป่วยคอเลสเตอรลสูง เส้นเลือดในสมองและหัวใจตีบ

ต้องตรวจค่า ไตรกลีเซอไรด์ บ่อยแค่ไหน?

ยิ่งอายุเพิ่มขึ้น ค่าไขมันก็เป็นเรื่องอันตรายและต้องระวังมากขึ้นตามไปด้วย ผู้เชี่ยวชาญบอกย้ำเตือนอยู่เสมอว่าให้ผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงหมั่นตรวจวัดค่าไขมันอยู่อย่างสม่ำเสมอ

ในกลุ่มวัยรุ่นก็เป็นเรื่องที่ไม่ควรชะล่าใจเช่นเดียวกัน เนื่องจากพฤติกรรมการกินของคนในปัจจุบันนั้นมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดภาวะไขมันในเลือดสูง ผู้เชี่ยวชาญจึงมักแนะนำให้ตรวจทุก ๆ 4 – 6 ปี ยิ่งถ้าหากมีภาวะเบาหวานน้ำตาลสูง หรือคนที่บ้านมีประวัติภาวะไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดตีบ อาจจะต้องตรวจถี่ขึ้นเป็นทุก 3 – 4 ปี สำหรับผู้ชายที่มีอายุตั้งแต่ 45 – 55 ปี และผู้หญิงอายุ 55 – 65 ปี ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้ตรวจทุกปีจะเป็นการดีที่สุด

โรคแทรกซ้อนจากภาวะ ไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ สูง

เมื่อมีไขมันในร่างกายสูง และไม่มีการกำจัดออกที่ดี ไขมันจะนำไปถูกเก็บไว้ตามมวลกล้ามเนื้อ และที่ตับ ซึ่งหากมีการนำไปเก็บไว้มาก ๆ จะเกิดเป็นภาวะไขมันพอกตับได้ทำให้ความเสี่ยงที่จะเกิดโรคตับอักเสบ(Pancreatitis) ได้ ซึ่งโรคนี้ถ้าไม่บรรเทาดูแลก็สามารถเสี่ยงถึงชีวิตได้เลยทีเดียว ภาวะไขมันสูงสะสมยังส่งผลกระทบระบบไหลเวียนโลหิต ระบบหัวใจ รวมไปถึงโรคอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น

  • โรคหลอดเลือดคาโรติดตีบตัน (Carotid Artery Disease)
  • โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง (Coronary Artery Disease and Heart Attack)
  • ภาวะระบบเผาผลาญผิดปกติ (Metabolic Syndome)
  • โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ (Peripheral Artery Disease : PAD)

เลี่ยงภาวะ ไตรกลีเซอไรด์สูง อย่างไรดี

แน่นอนว่าโรคนี้สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมก็ต้องแก้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคที่ดีและถูกต้องจะช่วยให้ระดับไขมันสะสมในเลือดลดลงได้

  • ออกกำลังกายสม่ำเสมออย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน
  • บริภาคอาหารที่ไขมัน น้ำตาล น้ำมันน้อย หลีกเลี่ยงของทอด และเพิ่มการบริโภคอาหารประเภทผัก ผลไม้ควบคุมปริมาณน้ำตาล
  • สะสมในกระแสเลือด
  • งดบริโภคเครื่องดื่
  • แอลกอฮอล์
  • พักผ่อนอย่างเพียงพอ 8 – 10 ชั่วโมง
  • ลดน้ำหนัก ควบคุมให้เหมาะสมกับดัชนีมวลกาย
  • จัดการกับปัญหาความเครียด
  • ลด ละ เลิกการสูบบุหรี่

ภาวะไตรกลีเซอไรด์สูงนั้นเป็นภัยเงียบใกล้ตัวที่เกิดขึ้นได้ง่าย อันเนื่องมาจากพฤติกรรมประจำตัวของเราเอง หากไม่มีการปรับเปลี่ยนหรือเอาใจใส่ที่ดีก็อาจทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิตได้ ดังนั้นจึงควรปฏิบัติตัวตามคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญอย่างเคร่งครัด หรือหาตัวช่วยเป็นน้ำมันอโวคาโดรวม ไฟว์ออยล์ จากโปรทริว่า ดูแลตัวเองได้ง่าย ๆ ไม่ยุ่งยากนะคะ

แหล่งข้อมูลอ้างอิง

www.uofmhealth.org

my.clevelandclinic.org

carle.org

คอมเมนต์

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

บทความใกล้เคียง

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ