โรคหัวใจเกิดจากอะไร? ภัยร้ายที่ไม่เลือกวัย อันตรายถึงชีวิต

โรคหัวใจเกิดจากอะไร? ภัยร้ายที่ไม่เลือกวัย อันตรายถึงชีวิต

สารบัญเนื้อหา

โรคหัวใจเกิดจากอะไร? ภัยร้ายที่ไม่เลือกวัย อันตรายถึงชีวิต

รู้หรือไม่โรคหัวใจเกิดจากอะไร โรคหัวใจเป็นโรคที่ทุกคนรูจักชื่อกันอยู่แล้วเพราะเป็นโรคร้ายแรงที่ทำลายหัวใจโดยตรง จึงทำให้มีความเสี่ยงในชีวิตหนักกว่าโรคอื่น หากไม่รักษาหรือชะล่าใจอาจอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้เลยทีเดียว ซึ่งในปัจจุบันได้ทวีความรุนแรงเพิ่มากขึ้นจนกลายเป็นโรคร้ายสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของโลก แม้แต่หนุ่มสาววัยทำงานก็ยังมีสิทธิ์เสี่ยงที่จะเป็นได้

โรคหัวใจคืออะไร

โรคหัวใจคือโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของหัวใจโดยตรง ซึ่งมาจากหลายปัจจัยและสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้หลายโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคลิ้นหัวใจ โรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ และโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นต้น จากสถิติในปัจจุบันขององค์กร WHO ได้เปิดเผยออกมาว่า โรคหัวใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของโรค มีผู้ป่วยโรคหัวใจทั่วโลกกว่า 400 ล้านคน เสียชีวิตทั้งสิ้น 18 ล้านคน ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของสาเหตุการเสียชีวิตในโลกเลยทีเดียว

โรคหัวใจเกิดจากอะไร ภัยร้ายที่ไม่เลือกวัย อันตรายถึงชีวิต
เมื่อรู้ว่าโรคหัวใจเกิดจากอะไรแล้ว ควรรู้วิธีป้องกันโรคหัวใจร่วมด้วย

ในปี 2560 ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคหัวใจสูงถึง 326,946 คน เสียชีวิตจากโรคหัวใจขาดเลือดถึง 20,746 คน เฉลี่ยเสียชีวิตวันละ 57 คน และมีแนวโน้มการป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่น่าตกใจคือมีวัยรุ่นและวัยทำงานที่มีแนวโน้มเสี่ยงเป็นโรคหัวใจเพิ่มขึ้นอย่างมาก อันเนื่องมาจากปัจจัยในการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปและขาดการดูแลตัวเองที่ดี

อาการของโรคหัวใจ

ผู้ป่วยโรคหัวใจมักจะมีอาการที่คล้ายคลึงกัน เช่น เหนื่อยง่าย เจ็บแน่นบริเวณหน้าอก
เจ็บหน้าตรงกลางหน้าอก หรือด้านซ้ายของหน้า นอนราบไม่ได้

เหนื่อยตอนหายใจ

มีอาการเหนื่อยหอบกลางดึกจนไม่ได้
มักมีอาการวูบ หน้ามืด หรือเป็นลมหมดสติโดยไม่ทราบสาเหตุ
เท้าและขาบวมโดยไม่ทราบสาเหตุ ริมฝีปากอาจลักษณะเขียวคล้ำ

พฤติกรรมที่ควรเลี่ยง ถ้าไม่อยากเสี่ยงโรคร้าย

ลดละเลิกอาหารไขมันสูง เช่น ของทอด ของมันๆ ฟาสต์ฟู้ด
กินอาหารไม่ครบหมู่ ครบถ้วน
นอนหลับไม่เพียงพอ นอนน้อยเกินไป
ทานอาหารรสหวานมากเกินไป จนเกิด “ภาวะเลือดข้น”
การสูบบุหรี่และดื่มสุรามาก จะทำให้เส้นเลือดเปราะบางขึ้น

โรคหัวใจสามารถแบ่งเป็นโรคย่อยๆได้หลายโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดอักเสบ แม้ว่าโรคเหล่านี้จะชื่อต่างกัน แต่เป็นโรคที่ทำลายหัวใจโดยตรงและมีอาการเจ็บป่วยคล้ายคลึงกัน แต่โรคที่มีผู้เป็นมากที่สุดคือ โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันและโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือด

กลไกการเกิดโรคหัวใจ รู้ก่อน ป้องกันก่อน

อ้างอิง:

www.paolohospital.com

โรคหัวใจเกิดจากอะไร? ภัยร้ายที่ไม่เลือกวัย อันตรายถึงชีวิต

รู้หรือไม่โรคหัวใจเกิดจากอะไร โรคหัวใจเป็นโรคที่ทุกคนรูจักชื่อกันอยู่แล้วเพราะเป็นโรคร้ายแรงที่ทำลายหัวใจโดยตรง จึงทำให้มีความเสี่ยงในชีวิตหนักกว่าโรคอื่น หากไม่รักษาหรือชะล่าใจอาจอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้เลยทีเดียว ซึ่งในปัจจุบันได้ทวีความรุนแรงเพิ่มากขึ้นจนกลายเป็นโรคร้ายสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของโลก แม้แต่หนุ่มสาววัยทำงานก็ยังมีสิทธิ์เสี่ยงที่จะเป็นได้

โรคหัวใจคืออะไร

โรคหัวใจคือโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของหัวใจโดยตรง ซึ่งมาจากหลายปัจจัยและสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้หลายโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคลิ้นหัวใจ โรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ และโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นต้น จากสถิติในปัจจุบันขององค์กร WHO ได้เปิดเผยออกมาว่า โรคหัวใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของโรค มีผู้ป่วยโรคหัวใจทั่วโลกกว่า 400 ล้านคน เสียชีวิตทั้งสิ้น 18 ล้านคน ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของสาเหตุการเสียชีวิตในโลกเลยทีเดียว

โรคหัวใจเกิดจากอะไร ภัยร้ายที่ไม่เลือกวัย อันตรายถึงชีวิต
เมื่อรู้ว่าโรคหัวใจเกิดจากอะไรแล้ว ควรรู้วิธีป้องกันโรคหัวใจร่วมด้วย

ในปี 2560 ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคหัวใจสูงถึง 326,946 คน เสียชีวิตจากโรคหัวใจขาดเลือดถึง 20,746 คน เฉลี่ยเสียชีวิตวันละ 57 คน และมีแนวโน้มการป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่น่าตกใจคือมีวัยรุ่นและวัยทำงานที่มีแนวโน้มเสี่ยงเป็นโรคหัวใจเพิ่มขึ้นอย่างมาก อันเนื่องมาจากปัจจัยในการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปและขาดการดูแลตัวเองที่ดี

อาการของโรคหัวใจ

ผู้ป่วยโรคหัวใจมักจะมีอาการที่คล้ายคลึงกัน เช่น เหนื่อยง่าย เจ็บแน่นบริเวณหน้าอก
เจ็บหน้าตรงกลางหน้าอก หรือด้านซ้ายของหน้า นอนราบไม่ได้

เหนื่อยตอนหายใจ

มีอาการเหนื่อยหอบกลางดึกจนไม่ได้
มักมีอาการวูบ หน้ามืด หรือเป็นลมหมดสติโดยไม่ทราบสาเหตุ
เท้าและขาบวมโดยไม่ทราบสาเหตุ ริมฝีปากอาจลักษณะเขียวคล้ำ

พฤติกรรมที่ควรเลี่ยง ถ้าไม่อยากเสี่ยงโรคร้าย

ลดละเลิกอาหารไขมันสูง เช่น ของทอด ของมันๆ ฟาสต์ฟู้ด
กินอาหารไม่ครบหมู่ ครบถ้วน
นอนหลับไม่เพียงพอ นอนน้อยเกินไป
ทานอาหารรสหวานมากเกินไป จนเกิด “ภาวะเลือดข้น”
การสูบบุหรี่และดื่มสุรามาก จะทำให้เส้นเลือดเปราะบางขึ้น

โรคหัวใจสามารถแบ่งเป็นโรคย่อยๆได้หลายโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดอักเสบ แม้ว่าโรคเหล่านี้จะชื่อต่างกัน แต่เป็นโรคที่ทำลายหัวใจโดยตรงและมีอาการเจ็บป่วยคล้ายคลึงกัน แต่โรคที่มีผู้เป็นมากที่สุดคือ โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันและโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือด

กลไกการเกิดโรคหัวใจ รู้ก่อน ป้องกันก่อน

อ้างอิง:

www.paolohospital.com

คอมเมนต์

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

บทความใกล้เคียง

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ