ออฟฟิศซินโดรม อาการเป็นยังไง เช็คลิส 10 ข้อพร้อมวิธีแก้!!

ออฟฟิศซินโดรม อาการเป็นยังไง เช็คลิส 10 ข้อพร้อมวิธีแก้-

สารบัญเนื้อหา

ออฟฟิศซินโดรม คืออะไร

ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) หรือทางการแพทย์เรียกว่า Work-related Musculoskeletal Disorders (WMSDs) คืออาการปวดกล้ามเนื้อ จากการใช้งานกล้ามเนื้อจุดเดิมซ้ำไปซ้ำมา เป็นเวลานานๆ และใช้งานอย่างนั้นต่อเนื่องหลายๆวัน ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการอักเสบ มักจะพบในคนที่ทำงานออฟฟิศที่ต้องนั่งทำงานอยู่หน้าจอนานๆ โดยไม่เปลี่ยนท่าทาง จนทำให้อาการอักเสบของกล้ามเนื้อและเป็นออฟฟิศซินโดมในที่สุด

ออฟฟิศซินโดรม อาการเป็นยังไง เช็คลิส 10 ข้อพร้อมวิธีแก้-

ออฟฟิศซินโดรม อาการเป็นยังไง เช็คลิส 10 ข้อพร้อมวิธีแก้!!

ในบทความนี้ทีมงานจะพาไปดูออฟฟิศซินโดรม อาการทั้ง 10 ที่นิยมเป็นกัน พร้อมด้วยวิธีแก้แต่ละจุดเบื้องต้น เมื่อคุณเกิดมีอาการหรือ อยากบริหารร่างกายเพื่อไม่อยากที่จะเป็นออฟฟิศซินโดมก็สามารถนำวิธีเหล่านี้ไปใช้ได้เหมือนกัน ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่ใช่ว่าพอทำตามวิธีแก้แล้วจะหายตลอดเลย ถ้ายังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ออฟฟิศซินโดรมก็จะยังคงวนกลับมาหาคุณเรื่อยๆ ถ้าไม่อยากให้ออฟฟิศซินโดรมตามติดชีวิตจนแก้ลำบาก ก็ควรเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตซะ!

1.ปวดคอ บ่า ไหล่

ปวดคอ บ่า ไหล่ถือว่าเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดในบรรดาคนทื่เป็นออฟฟิศซินโดรมเลยก็ได้ว่า เพราะว่าต้องนั่งทำงานท่าที่ไม่เหมาะสมท่าเดิมนานๆ จนทำให้เกิดการกดทับของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทบริเวณคอ บ่า ไหล่ ส่วนท่าที่มักทำให้เกิดอาการปวดคอ บ่า ไหล่นั้นจะเกิดจากท่าเหล่านี้ เช่น นั่งหลังค่อม นั่งก้มหน้า นั่งไขว่ห้าง นั่งเอียงหัว หรือยกแขนเป็นเวลานานๆก็ส่งผลกับกล้ามเนื้อบริเวณคอ บ่า ไหล่ เช่นกัน แต่นอกเหนือจากการเป็นออฟฟิศซินโดรมแล้ว การปวดคอ บ่า ไหล่ ยังอาจเกิดจากสาเหตุเหล่านี้ได้ด้วยเช่นกัน เช่น อุบัติเหตุจากการเล่นกีฬา กระดูกเสื่อม กระดูกสันหลังคด และหมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท

วิธีแก้ปวดคอ บ่า ไหล่เบื้องต้น

    • ปรับท่านั่งให้ถูกต้อง เช่น หลังตรง ไหล่ห่อเล็กน้อย วางศอกให้ทำมุม 90 องศา วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกันกับข้อศอก

2.ปวดหลัง

เช่นเดียวกับอาการปวดคอ บา ไหล่ คืออาการปวดหลังมักจะเกิดจากท่านั่งผิดๆ จากการนั่งทำงานนานๆ จนทำให้เกิดการอักเสบบริเวรคอ บา ไหล่ และหลัง

วิธีแก้ปวดหลังเบื้องต้น

    • ยืดหล้ามเนื้อหลัง โดย ยืนตรง แยกเท้าให้กว้างเท่าหัวไหล่ ประสานมือไว้ด้านหลังศรีษะ และค่อยๆโน้มตัวไปข้างหน้า จนรู้สึกตึงบริเวณหลัง ทำแบบนี้ค้างไว้ 10-15 นาที จากนั้นค่อยๆยืดตัวขึ้น ทำซ้ำประมาณ 3-5 ครั้ง จะช่วยให้อาการปวดหลังดีขึ้นได้ในระดับนึง

3.ปวดข้อมือ

ออฟฟิศซินโดรม อาการปวดข้อมือ เกิดจากการอยู่ในท่าการวางมือที่ผิดเป็นเวลานานๆ จนทำให้เส้นประสาทหรือกล้ามเนื้อบริเวณข้อมือเกิดการอักเสบและทำให้ปวดข้อมืดในที่สุด 

วิธีแก้ปวดข้อมือเบื้องต้น

    • หลีกเลี่ยงการใช้เมาส์ในท่าเดิมๆ เป็นเวลานาน
    • เลือกเมาส์ที่มีขนาดและรูปร่างเหมาะสมกับมือ
    • หากมีอาการปวดข้อมือ ควรพักการใช้งานข้อมือ
    • วางข้อศอกให้ทำมุม 90 องศา
    • วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกับข้อศอก
    • วางเมาส์ให้อยู่ใกล้กับตัว โดยใช้ข้อมือและนิ้วมือควบคุมการเคลื่อนไหวของเมาส์เป็นหลัก
    • ไม่ควรใช้ข้อมืองอหรือเหยียดมากเกินไป
    • ไม่ควรจับเมาส์แน่นเกินไป

4.ปวดศรีษะ

ออฟฟิศซินโดรมนั้นเกิดจากท่านั่งโดยรวมที่ไม่ถูกต้องและนั่งแบบนั้นเป็นเวลานานๆ จนทำให้กล้ามเนื้อตึง ตั้งแต่คอ ไหล่ จนไปถึงศรีษะ นอกจากนี้ยังมีทั้งความเครียด การนอนไม่หลับ และไมเกรน

วิธีแก้ปวดหัวเบื้องต้น

    • เลี่ยงจ้องคอมเป็นเวลานานๆ และพักสายตาทุกๆ 20-30 นาที ด้วยการมองไกลๆ
    • ปรับความสว่างของจอคอมให้เหมาะสม 
    • ถ้าอาการหนักและไม่หายซักทีแนะนำให้กินยาแก้ปวดหัวแล้วนอนพักจะดีที่สุด

5.ตาพร่ามัว

ตาพร่ามัวจากออฟฟิศซินโดรมมักจะเกิดจากการที่ต้องใช้กล้ามเนื้อตาเพื่อจ้องจอคอมเป็นเวลานานๆ ทำให้เกิดความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อบริเวณตา การจ้องจอคอมเป็นเวลานานๆโดยไม่มีการพักสายตาเลยทำให้กล้ามเนื้อตาต้องโฟกัสวัตถุ หรือ จอคอมเป็นเวลานานๆ จนกล้ามเนื้อตาอ่อนล้าแต่อักเสบ จนเกิดตาพร่ามัวในที่สุด

วิธีแก้ตาพร่ามัวเบื้องต้น

    • ปิดไฟหรือลดแสงในห้องทำงานให้น้อยลง
    • ปรับความสว่างของจอ
    • ปรับขนาดตัวหนังสือบนคอมให้อ่านง่าย ไม่ต้องเพ่งอ่าน
    • ปรับตำแหน่งจอให้อยู่ในระดับสายตา
    • เลี่ยงการใช้จอคอมในที่ที่มีแสงจ้า

6.ตาแห้ง

1 ใน ออฟฟิศซินโดรม อาการยอดนิยม คือตาแห้ง คันที่ตา มักเกิดจากการที่ต้องใช้สายตาจ้องจอคอมนานๆและการกระพริบตาที่น้อยลง ทำให้น้ำตาระเหยมากเกินไปขณะเดียวกันก็ผลิตน้ำตาน้อยลงไปด้วย ทำให้น้ำตาไม่ไหลเวียนทั่วทั้งตา และน้ำตาระเหยเร็วเกินไป ทำให้เกิดอาหารตาแห้งขึ้นมา

วิธีแก้อาการตาแห้งเบื้องต้น

    • ปิดไฟหรือลดแสงในห้องทำงานให้น้อยลง
    • ปรับความสว่างของจอ
    • ปรับขนาดตัวหนังสือบนคอมให้อ่านง่าย ไม่ต้องเพ่งอ่าน
    • ปรับตำแหน่งจอให้อยู่ในระดับสายตา
    • เลี่ยงการใช้จอคอมในที่ที่มีแสงจ้า
    • หลีกเลี่ยงการใช้คอนแทคเลนส์เป็นเวลานาน
    • หลีกเลี่ยงการใช้ยาบางชนิดที่อาจทำให้ตาแห้ง
    • หลีกเลี่ยงการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แห้งหรือมีอากาศเย็น
    • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
    • ใส่แว่นกรองแสงสีฟ้า

7.มึนงง

อาการมึนๆ งงๆ มักจะเกิดจากความผิดปกติของเส้นประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต จากท่านั่งที่ไม่เหมาะสม นั่งแบบนั้นนานๆจนเกิดทำให้เส้นประสาทบริเวณคอและศรีษะเกิดการกดทับและระบบไหลเวียนเลือดบริเวณคอและศรีษะทำงานได้ไม่เต็มที่ จนเกิดเป็นอาการมึนๆ งงๆ พูดไม่ค่อยรู้เรื่อง

วิธีแก้อาการมึนงงเบื้องต้น

ถ้าเกิดมีอาการมึนงงการทำตามวิธีเบื้องต้นนี้อาจไม่ได้ช่วยมากนัก จำเป็นต้องทำเป็นประจำ เพื่อให้อาการดีขึ้น หรือพบหมอเพื่อวินิจฉัยอาการ

    • ปรับท่านั่งทำงานให้ถูกต้อง โดยให้หลังตรง ไหล่ห่อเล็กน้อย วางข้อศอกให้ทำมุม 90 องศา วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกับข้อศอก
    • ลุกเดินเปลี่ยนอิริยาบถทุก ๆ 30-60 นาที
    • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ โดยเน้นการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
    • พักผ่อนให้เพียงพอ
    • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
    • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์

8.เหน็บชา

เหน็บชา สาเหตุจะคล้ายๆกับอาการมึนๆ งงๆ เพราะเกิดปัญหาที่เส้นประสาทหรือระบบไหลเวียนเลือด การนั่งท่าที่ผิดนานๆ จะส่งผลให้เส้นประสาทบริเวณ คอ ไหล่ แขน มือ เกิดการกดทับ จนทำให้ระบบไหลเวียนเลือดทำงานได้ไม่เต็มที่จนเกิดอาการเหน็บชาในที่สุด

วิธีแก้เบื้องต้น

    • ใช้วิธีเดียวกับวิธีแก้อาการมึนงง
    • ขยับนิ้วมือหรือนิ้วเท้าบริเวณที่มีอาการเบา ๆ
    • แช่มือหรือเท้าในน้ำอุ่น
    • ทายาบรรเทาอาการปวดหรือยาลดการอักเสบชนิดไม่มีสเตียรอยด์ (NSAID) บริเวณที่มีอาการ

9.นิ้วล็อค

นิ้วล็อค มักจะเกิดจาการอักเสบของปลอกหุ้มเอ็นกล้ามเนื้อที่ยึดข้อต่อบริเวณนิ้วมือ ทำให้เอ็นกล้ามเนื้อไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ปกติ ส่งผลให้นิ้วมือไม่สามารถที่จะงอ หรือ เหยียดได้ออกเหมือนปกติ และมักจะมีอาการปวดตามมา ยิ่งพยายามขยับเขยื่อนก็จะยิ่งปวดมากยิ่งขึ้น การนิ้วล็อคจากออฟฟิศซินโดรมนั้นมักจะเกิดจากการใช้นิ้วมือในการพิมพ์คีย์บอร์ดซ้ำๆเป็นเวลานานๆ จนเอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ เป็นที่มาของนิ้วล็อคนั่นเอง

วิธีแก้นิ้วล็อคเบื้องต้น

    • พักการใช้นิ้วมือ หรือ มือ ข้างที่มีอาการ
    • ประคบเย็นบริเวณที่มีอาการ
    • พอเริ่มดีขึ้นให้ยืดเหยียดมือ เพื่อทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น

10.นอนไม่หลับ

ออฟฟิศซินโดรม อาการนอนไม่หลับมักจะเกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ถ้าคุณเป็นพนักงานออฟฟิศ ส่วนใหญ่มักจะเกิดจากความเครียด หรือ ปวดหล้ามเนื้อ จนทำให้นอนไม่หลับ หลับไม่สนิท และตื่นกลางดึกบ่อยๆ 

อาการนอนไม่หลับจากออฟฟิศซินโดรม

    • นอนหลับยาก
    • นอนไม่หลับ
    • หลับไม่สนิท
    • ตื่นกลางดึกบ่อย ๆ
    • รู้สึกอ่อนเพลียในตอนเช้า
    • อารมณ์หงุดหงิด
    • สมาธิไม่ดี

วิธีแก้นอนไม่หลับ

    • ปรับท่านั่งทำงานให้ถูกต้อง
    • ลุกเดินเปลี่ยนอิริยาบถทุก ๆ 30-60 นาที
    • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
    • พักผ่อนให้เพียงพอ
    • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
    • กินอาหารที่มีประโยชน์
    • เลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
    • เลี่ยงการสูบบุหรี่
    • เลี่ยงการดื่มคาเฟอีนก่อนนอน
    • เข้านอนและตื่นนอนให้เป็นเวลาสม่ำเสมอ
    • หากิจกรรมผ่อนคลายก่อนนอน

How to แก้ออฟฟิศซินโดรม

  • ลุกเดินเปลี่ยนอิริยาบททุกๆ 30-60 นาที อย่างต่ำ
  • ออกกำลัง โดยเน้นไปที่ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
  • พักผ่อนให้เพียงพอ (7-9 ชั่วโมงต่อวัน) ไม่มากหรือ น้อยเกินไป
  • กินอาหารที่มีประโยชน์และช่วยลดการอักเสบได้ เช่น ถั่ว และงาดำ เป็นต้น
  • วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกับข้อศอก
  • วางเมาส์ให้อยู่ใกล้กับตัว โดยใช้ข้อมือและนิ้วมือควบคุมการเคลื่อนไหวของเมาส์เป็นหลัก
  • ไม่ควรใช้ข้อมืองอหรือเหยียดมากเกินไป
  • ไม่ควรจับเมาส์แน่นเกินไป
  • ปรับท่านั่งให้ถูกต้อง เช่น หลังตรง ไหล่ห่อเล็กน้อย วางศอกให้ทำมุม 90 องศา วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกันกับข้อศอก

ท่านั่งแก้ออฟฟิศซินโดรม

  1. นั่งหลังตรง ไหล่ห่อเล็กน้อย คอตรง หน้าไม่ยื่น จะช่วยให้หลังและคออยู่ในแนวตรง ไม่โค้งงอหรือแอ่น ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณดังกล่าว
  2. วางเท้าให้ราบกับพื้น หรือใช้ที่วางเท้าหากเท้าลอย จะช่วยให้ขาอยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย ไม่เกร็ง ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณขา
  3. วางข้อศอกให้ทำมุม 90 องศา ขณะวางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ จะช่วยให้กล้ามเนื้อแขนและมืออยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย ไม่เกร็ง ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณแขนและมือ
  4. วางหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในระดับสายตา จะช่วยให้ไม่ต้องเงยหรือก้มคอบ่อย ๆ ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณคอ
  5. หมุนเก้าอี้ให้สะโพกอยู่ตรงกลางโต๊ะ จะช่วยให้นั่งได้สมดุล ไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง
  6. ปรับระดับความสูงของเก้าอี้ให้ขาตั้งฉากกับพื้น จะช่วยให้ขาอยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย ไม่เกร็ง ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณขา

ออฟฟิศซินโดรม กินอะไรดี

  1. ปลาที่มีไขมัน
  2. บรอกโคลี
  3. อะโวคาโด
  4. ชาเขียว
  5. โกโก้
  6. มะเขือเทศ
  7. เชอร์ชี่
  8. องุ่น
  9. งาดำ

สรุป

ออฟฟิศซินโดรม อาการส่วนใหญ่จะเป็นเพราะการนั่งผิดท่า นั่งท่าเดิมเป็นเวลานานๆ ทางแก้ก็ง่ายๆเลย นั่งให้ถูกวิธี เลื่อนกลับไปอ่านตรงหัวข้อ ท่านั่งแก้ออฟฟิศซินโดรม นอกจากการแก้ท่านั่งแล้ว ยังมีการออกกำลังกาย พักผ่อนให้เพียงกิน กินอาหารที่มีประโยชน์ แต่ละอย่างเหล่านี้ก็ช่วยให้อาการดีขึ้น และร่างกายยังแข็งแรงขึ้นอีกด้วย ด้วยความปรารถนาดีจาก โปรทริว่าแบล็คซีดส์ น้ำมันงาดำสกัดเย็นเกรดพรีเมียม

ออฟฟิศซินโดรม คืออะไร

ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) หรือทางการแพทย์เรียกว่า Work-related Musculoskeletal Disorders (WMSDs) คืออาการปวดกล้ามเนื้อ จากการใช้งานกล้ามเนื้อจุดเดิมซ้ำไปซ้ำมา เป็นเวลานานๆ และใช้งานอย่างนั้นต่อเนื่องหลายๆวัน ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการอักเสบ มักจะพบในคนที่ทำงานออฟฟิศที่ต้องนั่งทำงานอยู่หน้าจอนานๆ โดยไม่เปลี่ยนท่าทาง จนทำให้อาการอักเสบของกล้ามเนื้อและเป็นออฟฟิศซินโดมในที่สุด

ออฟฟิศซินโดรม อาการเป็นยังไง เช็คลิส 10 ข้อพร้อมวิธีแก้-

ออฟฟิศซินโดรม อาการเป็นยังไง เช็คลิส 10 ข้อพร้อมวิธีแก้!!

ในบทความนี้ทีมงานจะพาไปดูออฟฟิศซินโดรม อาการทั้ง 10 ที่นิยมเป็นกัน พร้อมด้วยวิธีแก้แต่ละจุดเบื้องต้น เมื่อคุณเกิดมีอาการหรือ อยากบริหารร่างกายเพื่อไม่อยากที่จะเป็นออฟฟิศซินโดมก็สามารถนำวิธีเหล่านี้ไปใช้ได้เหมือนกัน ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่ใช่ว่าพอทำตามวิธีแก้แล้วจะหายตลอดเลย ถ้ายังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ออฟฟิศซินโดรมก็จะยังคงวนกลับมาหาคุณเรื่อยๆ ถ้าไม่อยากให้ออฟฟิศซินโดรมตามติดชีวิตจนแก้ลำบาก ก็ควรเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตซะ!

1.ปวดคอ บ่า ไหล่

ปวดคอ บ่า ไหล่ถือว่าเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดในบรรดาคนทื่เป็นออฟฟิศซินโดรมเลยก็ได้ว่า เพราะว่าต้องนั่งทำงานท่าที่ไม่เหมาะสมท่าเดิมนานๆ จนทำให้เกิดการกดทับของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทบริเวณคอ บ่า ไหล่ ส่วนท่าที่มักทำให้เกิดอาการปวดคอ บ่า ไหล่นั้นจะเกิดจากท่าเหล่านี้ เช่น นั่งหลังค่อม นั่งก้มหน้า นั่งไขว่ห้าง นั่งเอียงหัว หรือยกแขนเป็นเวลานานๆก็ส่งผลกับกล้ามเนื้อบริเวณคอ บ่า ไหล่ เช่นกัน แต่นอกเหนือจากการเป็นออฟฟิศซินโดรมแล้ว การปวดคอ บ่า ไหล่ ยังอาจเกิดจากสาเหตุเหล่านี้ได้ด้วยเช่นกัน เช่น อุบัติเหตุจากการเล่นกีฬา กระดูกเสื่อม กระดูกสันหลังคด และหมอนรองกระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท

วิธีแก้ปวดคอ บ่า ไหล่เบื้องต้น

    • ปรับท่านั่งให้ถูกต้อง เช่น หลังตรง ไหล่ห่อเล็กน้อย วางศอกให้ทำมุม 90 องศา วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกันกับข้อศอก

2.ปวดหลัง

เช่นเดียวกับอาการปวดคอ บา ไหล่ คืออาการปวดหลังมักจะเกิดจากท่านั่งผิดๆ จากการนั่งทำงานนานๆ จนทำให้เกิดการอักเสบบริเวรคอ บา ไหล่ และหลัง

วิธีแก้ปวดหลังเบื้องต้น

    • ยืดหล้ามเนื้อหลัง โดย ยืนตรง แยกเท้าให้กว้างเท่าหัวไหล่ ประสานมือไว้ด้านหลังศรีษะ และค่อยๆโน้มตัวไปข้างหน้า จนรู้สึกตึงบริเวณหลัง ทำแบบนี้ค้างไว้ 10-15 นาที จากนั้นค่อยๆยืดตัวขึ้น ทำซ้ำประมาณ 3-5 ครั้ง จะช่วยให้อาการปวดหลังดีขึ้นได้ในระดับนึง

3.ปวดข้อมือ

ออฟฟิศซินโดรม อาการปวดข้อมือ เกิดจากการอยู่ในท่าการวางมือที่ผิดเป็นเวลานานๆ จนทำให้เส้นประสาทหรือกล้ามเนื้อบริเวณข้อมือเกิดการอักเสบและทำให้ปวดข้อมืดในที่สุด 

วิธีแก้ปวดข้อมือเบื้องต้น

    • หลีกเลี่ยงการใช้เมาส์ในท่าเดิมๆ เป็นเวลานาน
    • เลือกเมาส์ที่มีขนาดและรูปร่างเหมาะสมกับมือ
    • หากมีอาการปวดข้อมือ ควรพักการใช้งานข้อมือ
    • วางข้อศอกให้ทำมุม 90 องศา
    • วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกับข้อศอก
    • วางเมาส์ให้อยู่ใกล้กับตัว โดยใช้ข้อมือและนิ้วมือควบคุมการเคลื่อนไหวของเมาส์เป็นหลัก
    • ไม่ควรใช้ข้อมืองอหรือเหยียดมากเกินไป
    • ไม่ควรจับเมาส์แน่นเกินไป

4.ปวดศรีษะ

ออฟฟิศซินโดรมนั้นเกิดจากท่านั่งโดยรวมที่ไม่ถูกต้องและนั่งแบบนั้นเป็นเวลานานๆ จนทำให้กล้ามเนื้อตึง ตั้งแต่คอ ไหล่ จนไปถึงศรีษะ นอกจากนี้ยังมีทั้งความเครียด การนอนไม่หลับ และไมเกรน

วิธีแก้ปวดหัวเบื้องต้น

    • เลี่ยงจ้องคอมเป็นเวลานานๆ และพักสายตาทุกๆ 20-30 นาที ด้วยการมองไกลๆ
    • ปรับความสว่างของจอคอมให้เหมาะสม 
    • ถ้าอาการหนักและไม่หายซักทีแนะนำให้กินยาแก้ปวดหัวแล้วนอนพักจะดีที่สุด

5.ตาพร่ามัว

ตาพร่ามัวจากออฟฟิศซินโดรมมักจะเกิดจากการที่ต้องใช้กล้ามเนื้อตาเพื่อจ้องจอคอมเป็นเวลานานๆ ทำให้เกิดความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อบริเวณตา การจ้องจอคอมเป็นเวลานานๆโดยไม่มีการพักสายตาเลยทำให้กล้ามเนื้อตาต้องโฟกัสวัตถุ หรือ จอคอมเป็นเวลานานๆ จนกล้ามเนื้อตาอ่อนล้าแต่อักเสบ จนเกิดตาพร่ามัวในที่สุด

วิธีแก้ตาพร่ามัวเบื้องต้น

    • ปิดไฟหรือลดแสงในห้องทำงานให้น้อยลง
    • ปรับความสว่างของจอ
    • ปรับขนาดตัวหนังสือบนคอมให้อ่านง่าย ไม่ต้องเพ่งอ่าน
    • ปรับตำแหน่งจอให้อยู่ในระดับสายตา
    • เลี่ยงการใช้จอคอมในที่ที่มีแสงจ้า

6.ตาแห้ง

1 ใน ออฟฟิศซินโดรม อาการยอดนิยม คือตาแห้ง คันที่ตา มักเกิดจากการที่ต้องใช้สายตาจ้องจอคอมนานๆและการกระพริบตาที่น้อยลง ทำให้น้ำตาระเหยมากเกินไปขณะเดียวกันก็ผลิตน้ำตาน้อยลงไปด้วย ทำให้น้ำตาไม่ไหลเวียนทั่วทั้งตา และน้ำตาระเหยเร็วเกินไป ทำให้เกิดอาหารตาแห้งขึ้นมา

วิธีแก้อาการตาแห้งเบื้องต้น

    • ปิดไฟหรือลดแสงในห้องทำงานให้น้อยลง
    • ปรับความสว่างของจอ
    • ปรับขนาดตัวหนังสือบนคอมให้อ่านง่าย ไม่ต้องเพ่งอ่าน
    • ปรับตำแหน่งจอให้อยู่ในระดับสายตา
    • เลี่ยงการใช้จอคอมในที่ที่มีแสงจ้า
    • หลีกเลี่ยงการใช้คอนแทคเลนส์เป็นเวลานาน
    • หลีกเลี่ยงการใช้ยาบางชนิดที่อาจทำให้ตาแห้ง
    • หลีกเลี่ยงการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แห้งหรือมีอากาศเย็น
    • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
    • ใส่แว่นกรองแสงสีฟ้า

7.มึนงง

อาการมึนๆ งงๆ มักจะเกิดจากความผิดปกติของเส้นประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต จากท่านั่งที่ไม่เหมาะสม นั่งแบบนั้นนานๆจนเกิดทำให้เส้นประสาทบริเวณคอและศรีษะเกิดการกดทับและระบบไหลเวียนเลือดบริเวณคอและศรีษะทำงานได้ไม่เต็มที่ จนเกิดเป็นอาการมึนๆ งงๆ พูดไม่ค่อยรู้เรื่อง

วิธีแก้อาการมึนงงเบื้องต้น

ถ้าเกิดมีอาการมึนงงการทำตามวิธีเบื้องต้นนี้อาจไม่ได้ช่วยมากนัก จำเป็นต้องทำเป็นประจำ เพื่อให้อาการดีขึ้น หรือพบหมอเพื่อวินิจฉัยอาการ

    • ปรับท่านั่งทำงานให้ถูกต้อง โดยให้หลังตรง ไหล่ห่อเล็กน้อย วางข้อศอกให้ทำมุม 90 องศา วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกับข้อศอก
    • ลุกเดินเปลี่ยนอิริยาบถทุก ๆ 30-60 นาที
    • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ โดยเน้นการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
    • พักผ่อนให้เพียงพอ
    • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
    • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์

8.เหน็บชา

เหน็บชา สาเหตุจะคล้ายๆกับอาการมึนๆ งงๆ เพราะเกิดปัญหาที่เส้นประสาทหรือระบบไหลเวียนเลือด การนั่งท่าที่ผิดนานๆ จะส่งผลให้เส้นประสาทบริเวณ คอ ไหล่ แขน มือ เกิดการกดทับ จนทำให้ระบบไหลเวียนเลือดทำงานได้ไม่เต็มที่จนเกิดอาการเหน็บชาในที่สุด

วิธีแก้เบื้องต้น

    • ใช้วิธีเดียวกับวิธีแก้อาการมึนงง
    • ขยับนิ้วมือหรือนิ้วเท้าบริเวณที่มีอาการเบา ๆ
    • แช่มือหรือเท้าในน้ำอุ่น
    • ทายาบรรเทาอาการปวดหรือยาลดการอักเสบชนิดไม่มีสเตียรอยด์ (NSAID) บริเวณที่มีอาการ

9.นิ้วล็อค

นิ้วล็อค มักจะเกิดจาการอักเสบของปลอกหุ้มเอ็นกล้ามเนื้อที่ยึดข้อต่อบริเวณนิ้วมือ ทำให้เอ็นกล้ามเนื้อไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ปกติ ส่งผลให้นิ้วมือไม่สามารถที่จะงอ หรือ เหยียดได้ออกเหมือนปกติ และมักจะมีอาการปวดตามมา ยิ่งพยายามขยับเขยื่อนก็จะยิ่งปวดมากยิ่งขึ้น การนิ้วล็อคจากออฟฟิศซินโดรมนั้นมักจะเกิดจากการใช้นิ้วมือในการพิมพ์คีย์บอร์ดซ้ำๆเป็นเวลานานๆ จนเอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ เป็นที่มาของนิ้วล็อคนั่นเอง

วิธีแก้นิ้วล็อคเบื้องต้น

    • พักการใช้นิ้วมือ หรือ มือ ข้างที่มีอาการ
    • ประคบเย็นบริเวณที่มีอาการ
    • พอเริ่มดีขึ้นให้ยืดเหยียดมือ เพื่อทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น

10.นอนไม่หลับ

ออฟฟิศซินโดรม อาการนอนไม่หลับมักจะเกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ถ้าคุณเป็นพนักงานออฟฟิศ ส่วนใหญ่มักจะเกิดจากความเครียด หรือ ปวดหล้ามเนื้อ จนทำให้นอนไม่หลับ หลับไม่สนิท และตื่นกลางดึกบ่อยๆ 

อาการนอนไม่หลับจากออฟฟิศซินโดรม

    • นอนหลับยาก
    • นอนไม่หลับ
    • หลับไม่สนิท
    • ตื่นกลางดึกบ่อย ๆ
    • รู้สึกอ่อนเพลียในตอนเช้า
    • อารมณ์หงุดหงิด
    • สมาธิไม่ดี

วิธีแก้นอนไม่หลับ

    • ปรับท่านั่งทำงานให้ถูกต้อง
    • ลุกเดินเปลี่ยนอิริยาบถทุก ๆ 30-60 นาที
    • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
    • พักผ่อนให้เพียงพอ
    • ดื่มน้ำให้เพียงพอ
    • กินอาหารที่มีประโยชน์
    • เลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
    • เลี่ยงการสูบบุหรี่
    • เลี่ยงการดื่มคาเฟอีนก่อนนอน
    • เข้านอนและตื่นนอนให้เป็นเวลาสม่ำเสมอ
    • หากิจกรรมผ่อนคลายก่อนนอน

How to แก้ออฟฟิศซินโดรม

  • ลุกเดินเปลี่ยนอิริยาบททุกๆ 30-60 นาที อย่างต่ำ
  • ออกกำลัง โดยเน้นไปที่ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
  • พักผ่อนให้เพียงพอ (7-9 ชั่วโมงต่อวัน) ไม่มากหรือ น้อยเกินไป
  • กินอาหารที่มีประโยชน์และช่วยลดการอักเสบได้ เช่น ถั่ว และงาดำ เป็นต้น
  • วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกับข้อศอก
  • วางเมาส์ให้อยู่ใกล้กับตัว โดยใช้ข้อมือและนิ้วมือควบคุมการเคลื่อนไหวของเมาส์เป็นหลัก
  • ไม่ควรใช้ข้อมืองอหรือเหยียดมากเกินไป
  • ไม่ควรจับเมาส์แน่นเกินไป
  • ปรับท่านั่งให้ถูกต้อง เช่น หลังตรง ไหล่ห่อเล็กน้อย วางศอกให้ทำมุม 90 องศา วางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในระดับเดียวกันกับข้อศอก

ท่านั่งแก้ออฟฟิศซินโดรม

  1. นั่งหลังตรง ไหล่ห่อเล็กน้อย คอตรง หน้าไม่ยื่น จะช่วยให้หลังและคออยู่ในแนวตรง ไม่โค้งงอหรือแอ่น ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณดังกล่าว
  2. วางเท้าให้ราบกับพื้น หรือใช้ที่วางเท้าหากเท้าลอย จะช่วยให้ขาอยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย ไม่เกร็ง ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณขา
  3. วางข้อศอกให้ทำมุม 90 องศา ขณะวางมือบนแป้นพิมพ์และเมาส์ จะช่วยให้กล้ามเนื้อแขนและมืออยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย ไม่เกร็ง ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณแขนและมือ
  4. วางหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในระดับสายตา จะช่วยให้ไม่ต้องเงยหรือก้มคอบ่อย ๆ ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณคอ
  5. หมุนเก้าอี้ให้สะโพกอยู่ตรงกลางโต๊ะ จะช่วยให้นั่งได้สมดุล ไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง
  6. ปรับระดับความสูงของเก้าอี้ให้ขาตั้งฉากกับพื้น จะช่วยให้ขาอยู่ในท่าที่ผ่อนคลาย ไม่เกร็ง ช่วยลดการกดทับเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริเวณขา

ออฟฟิศซินโดรม กินอะไรดี

  1. ปลาที่มีไขมัน
  2. บรอกโคลี
  3. อะโวคาโด
  4. ชาเขียว
  5. โกโก้
  6. มะเขือเทศ
  7. เชอร์ชี่
  8. องุ่น
  9. งาดำ

สรุป

ออฟฟิศซินโดรม อาการส่วนใหญ่จะเป็นเพราะการนั่งผิดท่า นั่งท่าเดิมเป็นเวลานานๆ ทางแก้ก็ง่ายๆเลย นั่งให้ถูกวิธี เลื่อนกลับไปอ่านตรงหัวข้อ ท่านั่งแก้ออฟฟิศซินโดรม นอกจากการแก้ท่านั่งแล้ว ยังมีการออกกำลังกาย พักผ่อนให้เพียงกิน กินอาหารที่มีประโยชน์ แต่ละอย่างเหล่านี้ก็ช่วยให้อาการดีขึ้น และร่างกายยังแข็งแรงขึ้นอีกด้วย ด้วยความปรารถนาดีจาก โปรทริว่าแบล็คซีดส์ น้ำมันงาดำสกัดเย็นเกรดพรีเมียม

คอมเมนต์

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

บทความใกล้เคียง

บทความอื่นๆที่น่าสนใจ